Page 41 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 41
เศรษฐกจิ ไทยสมัยรชั กาลท่ี 7–พ.ศ. 2519 11-31
แตใ่ นทางปฏบิ ตั ภิ ายใตร้ ฐั บาลของจอมพล ป. พบิ ลู สงคราม รฐั บาลไดใ้ ชห้ นว่ ยงานทางเศรษฐกจิ
ทงั้ ในรปู แบบรฐั วสิ าหกจิ และบรษิ ทั กง่ึ ราชการเปน็ สงิ่ ตอบแทนแบง่ ปนั ผลประโยชนใ์ หแ้ กพ่ รรคพวกของตน
ดังจะเห็นได้จากการประกอบธุรกิจของกลุ่มซอยราชครูและกลุ่มส่ีเสาเทเวศร์ท่ีต่างก็ใช้อ�ำนาจและบารมี
ทางการเมอื งในการระบบราชการสง่ เสรมิ และคำ้� จนุ ธรุ กจิ ของตนและพวกพอ้ งโดยอาศยั อภสิ ทิ ธแ์ิ ละอทิ ธพิ ล
ในการตดิ ตอ่ กบั ภาคราชการและอาศยั ความรว่ มมอื กบั พอ่ คา้ เอกชน ถอื เปน็ สาเหตหุ นงึ่ ทที่ ำ� ใหธ้ รุ กจิ เอกชน
ท้ังในและตา่ งประเทศไดร้ ับความกระทบกระเทือน
กิจกรรม 11.2.2
อธิบายลกั ษณะเดน่ ของนโยบายและการด�ำเนนิ นโยบายในชว่ งทศวรรษ 2490–พ.ศ. 2500
แนวตอบกิจกรรม 11.2.2
นโยบายทางเศรษฐกจิ รูปแบบ “ทนุ นยิ มโดยรฐั ” ส�ำหรับการด�ำเนินนโยบาย ไดแ้ ก่ 1) นโยบาย
ทางด้านการเงิน ท่ีมุ่งเน้นรักษาเสถียรภาพของเงินบาท โดยรัฐควบคุมเงินตราต่างประเทศและใช้ระบบ
อตั ราแลกเปลย่ี นหลายอตั รา 2) เนน้ บทบาทของรฐั ในการจดั การพาณชิ ยเ์ พอื่ ชว่ ยเหลอื ประชาชนและแกไ้ ข
ปญั หาคา่ ครองชพี โดยใชม้ าตรการตรงึ ราคาสนิ คา้ การควบคมุ สนิ คา้ การควบคมุ สนิ คา้ เขา้ และสนิ คา้ ออก
และ 3) รฐั วสิ าหกจิ อยใู่ นสงั กดั กระทรวงตา่ งๆ เกดิ ขน้ึ จำ� นวนมากและเปน็ กลไกในการขบั เคลอื่ นเศรษฐกจิ
ขณะเดียวกนั เป็นฐานอ�ำนาจทางการเมอื งใหก้ บั ผนู้ ำ� ด้วยการจดั สรรผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ