Page 39 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 39
เศรษฐกิจไทยสมยั รัชกาลท่ี 7–พ.ศ. 2519 11-29
กลา่ วได้วา่ นบั ตัง้ แต่ พ.ศ. 2488-2494 ธนาคารแห่งประเทศไทย สามารถจดั การปัญหาเงินตรา
และปญั หาการแลกเปลย่ี นดว้ ยความชำ� นาญ แมว้ า่ จะตอ้ งเผชญิ กบั อปุ สรรคทง้ั ทางการเมอื ง ปญั หาเงนิ เฟอ้
ที่รุนแรงในระหว่างสงครามและหลังสงครามใหม่ๆ การสูญเสียทุนส�ำรองเงินตราต่างประเทศ แต่ไทย
สามารถยุติการเพิ่มขึ้นของราคาและสะสมทุนส�ำรองหนุนหลังปริมาณเงินซ่ึงเป็นทองค�ำและเงินดอลลาร์
ในจำ� นวนเกอื บเทา่ กบั ปรมิ าณเงนิ หมนุ เวยี นทเี่ พมิ่ ขนึ้ อยา่ งมากและการใชร้ ะบบการควบคมุ การแลกเปลย่ี น
นั้น ท�ำให้ใน พ.ศ. 2494 เงินบาทสามารถแลกเปล่ียนในอัตราเสรีและเป็นเงินตราสกุลหน่ึงที่แข็งที่สุด
ในโลก56
2. การด�ำเนินนโยบายของรัฐในการจัดการพาณิชย์ รัฐบาลด�ำเนินมาตรการต่างๆ ช่วยเหลือ
ประชาชนและจดั การใหม้ สี นิ คา้ พอเพยี งกบั ความตอ้ งการ เพอ่ื แกไ้ ขปญั หาคา่ ครองชพี ซง่ึ เปน็ ปญั หาสำ� คญั
ของประชาชน โดยมี 3 มาตราหลกั ๆ ไดแ้ ก่ การตรงึ ราคาสนิ คา้ การควบคมุ การคา้ การควบคมุ สนิ คา้ เขา้
และสนิ ค้าออก ประกอบกบั มาตรการสง่ เสริมรัฐวสิ าหกิจทผ่ี ลกั ดันให้รัฐมีฐานะเปน็ ผปู้ ระกอบการ
การตรึงราคาสินค้า รัฐบาลใชว้ ิธกี ารตา่ งๆ ดงั นี้ 1) ก�ำหนดอตั ราแลกเปลย่ี นเงินตราต่างประเทศ
เพื่อให้แก่พ่อค้าส�ำหรับการสั่งซื้อสินค้าบางชนิดท่ีจ�ำเป็นต่อการครองชีพของประชาชน โดยจะส่งผลให้
พอ่ คา้ สงั่ ซ้ือสินค้าจ�ำเป็นในราคาต่�ำ แลว้ น�ำมาขายในราคาพอสมควร 2) กำ� หนดราคาสนิ คา้ ทส่ี �ำคญั เช่น
ขา้ ว และรฐั บาลใหส้ ว่ นราชการ องคก์ าร หรอื บรษิ ทั ในความควบคมุ ของทางราชการ ดำ� เนนิ การรบั ซอื้ ตาม
ราคาทรี่ ฐั บาลกำ� หนด 3) ใหส้ ว่ นราชการ องคก์ าร และบรษิ ทั ในการควบคมุ ของราชการมหี นา้ ทท่ี างการคา้
เช่น กรมการคา้ ภายใน กระทรวงเศรษฐการ ร้านสหกรณผ์ บู้ รโิ ภค องคก์ ารจัดซ้อื สินคา้ (อจส.) องคก์ าร
สงเคราะหท์ หารผา่ นศึก ลงทนุ สัง่ สนิ ค้าจากต่างประเทศ และรวบรวมสนิ ค้าภายในประเทศมาจดั จ�ำหน่าย
แก่ประชาชน เพ่ือแข่งขันกับพ่อค้าเอกชนและป้องกันไม่ให้ราคาสินค้าสูงเกินไป และ 4) ให้กระทรวง
เศรษฐการช่วยเหลือร้านค้าย่อยของคนไทยในการจัดหาสินค้า โดยจัดเป็นร้านค้าในความสงเคราะห์ของ
กรมการคา้ ภายใน (ในเขตจงั หวดั พระนครและธนบรุ )ี และดำ� เนนิ งานผา่ นสำ� นกั งานเศรษฐการจงั หวดั หรอื
บรษิ ทั จังหวัด
การควบคุมการค้า รัฐเข้าด�ำเนินการควบคุมทางการค้า ควบคุมมิให้พ่อค้ากักตุนสินค้าเพ่ือขึ้น
ราคาหรอื กำ� หนดราคาจำ� หนา่ ยสงู เกนิ ควร อาทิ การควบคมุ การขนยา้ ยสนิ คา้ ทมี่ คี วามจำ� เปน็ ตอ่ การครองชพี
เช่น โค กระบอื สุกรมีชวี ติ รวมท้ังเน้อื สัตวต์ ่างๆ ไขเ่ ป็ด นำ�้ มัน หมู กุนเชยี ง เสน้ หมี่ ก๋วยเตีย๋ ว และร�ำ
เป็นต้น สาเหตุของการเข้าควบคุมเพราะมีการลักลอบส่งออกไปจ�ำหน่ายยังต่างประเทศ เน่ืองจากราคา
สนิ ค้าเหลา่ นใี้ นต่างประเทศสนิ ค้ามีราคาสงู กวา่ ในไทยมาก ทัง้ นี้ สินคา้ ประเภทขา้ ว นำ้� มนั เชอื้ เพลงิ และ
ยารักษาโรค จัดเป็นสินค้าควบคุมเช่นกัน ในการควบคุมต่างๆ รัฐอาศัยอ�ำนาจตาม “พระราชบัญญัติ
ควบคุมเคร่ืองอุปโภคและบริโภคและของอ่ืนในภาวะคับขัน พ.ศ. 2488” และ “พระราชบัญญัติป้องกัน
การค้าก�ำไรเกินควร พ.ศ. 2490” ช่วงสงครามเย็นประกาศใช้ “พระราชบัญญัติควบคุมโภคภัณฑ์ พ.ศ.
2495” เพมิ่ เตมิ อกี หน่งึ ฉบับ
56 เร่อื งเดียวกนั . น. 249-250.