Page 43 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 43

เศรษฐกจิ ไทยสมัยรัชกาลท่ี 7–พ.ศ. 2519 11-33
ของทางการเท่ากับว่าถูกเก็บภาษีเท่ากับอัตราท่ีแตกต่างกันระหว่างอัตราทางการกับอัตราตลาด ส่วน
ยางพาราและดีบุกผู้ส่งออกต้องขายเงินตราต่างประเทศในอัตราทางการเป็นบางส่วน เมื่อเลิกอัตราแลก
เปลย่ี นหลายอตั รา รฐั บาลยงั คงเกบ็ ภาษจี ากขา้ ว (หรอื ทเ่ี รยี กกนั วา่ พรเี มย่ี มขา้ ว) ทำ� ใหร้ าคาขา้ วในประเทศ
ตำ�่ กว่าราคาในตลาดโลก ดังนัน้ การปลกู และการสง่ ออกสินคา้ เกษตรอนื่ ๆ จงึ นา่ สนใจกวา่ เพราะสามารถ
ขายในราคาตลาดโลกโดยไมต่ อ้ งเสียภาษี ประกอบกับตลาดโลกมีความตอ้ งการสนิ ค้าอื่นๆ ท�ำให้แรงงาน
สว่ นหน่ึงจึงโยกยา้ ยออกจากการทำ� นาไปปลูกพชื ไร่

       นอกจากนี้ เงินกู้จากธนาคารโลก เงินช่วยเหลือจากสหรัฐอเมริกา รวมทั้งโครงการของรัฐบาล
ทำ� ใหก้ อ่ ใหเ้ กดิ โครงการกอ่ สรา้ งและการจา้ งแรงงานในทอ้ งถน่ิ เพม่ิ ขน้ึ ตามมาดว้ ยความตอ้ งการซอื้ สนิ คา้
อปุ โภคบรโิ ภคและส่งผลตอ่ ความต้องการแรงงานในการผลิตสินค้าอตุ สาหกรรมเพิ่มขึ้นตามไปดว้ ย เมอื่ มี
ปัญหาขาดแคลนแรงงานในภาคอุตสาหกรรม แต่รัฐมีนโยบายจ�ำกัดจ�ำนวนแรงงานต่างด้าวเข้าประเทศ
(โดยเฉพาะชาวจนี ) ทำ� ใหค้ นไทยสว่ นหนงึ่ ทอ่ี ยใู่ นภาคเกษตรกรรมผนั ตวั เปน็ กรรมกรในภาคอตุ สาหกรรม61
จะเห็นได้ว่าในช่วงเวลาดังกล่าว เริ่มมีการโยกย้ายแรงงานจากภาคการเกษตรไปสู่ภาคอุตสาหกรรมและ
การบรกิ าร ชาวนาเปน็ ไปกรรมกรกอ่ สร้าง กรรมกรในโรงงาน และกลุ รี ับจ้างขนสินค้า ขณะทชี่ าวนาบาง
ส่วนหนั ไปเป็นชาวไร่

       การเติบโตของธนาคารพาณิชย์ของไทย62
       ระยะเวลาดงั กลา่ วธนาคารพาณชิ ยเ์ พม่ิ จำ� นวนและเปน็ ระบบมากยงิ่ ขน้ึ และเปน็ รากฐานสำ� คญั ของ
ระบบเศรษฐกิจไทยในเวลาต่อมา กล่าวคือ ในปี 2493 เม่ือรวมธนาคารพาณิชย์ของไทยท่ีต้ังข้ึนใหม่
5 ธนาคาร กับธนาคารท่ีต้งั ขนึ้ ในระหว่างสงครามโลกครงั้ ท่ี 2 อีก 5 ธนาคาร และธนาคารทต่ี ง้ั ขึ้นกอ่ น
สงครามโลกคร้ังที่ 2 อีก 5 ธนาคาร รวมทั้งหมดมีธนาคารพาณิชย์ทั้งส้ิน 15 ธนาคาร ถือเป็นจ�ำนวน
ธนาคารทคี่ อ่ นขา้ งมาก และเมอื่ รวมธนาคารพาณชิ ยข์ องตา่ งชาตอิ กี 10 ธนาคาร สรปุ ไดว้ า่ ในขณะนนั้ ไทย
มธี นาคารพาณิชยท์ ง้ั สิ้น 25 ธนาคาร
       จากการท่ีรัฐด�ำเนินนโยบายทางด้านการเงินอย่างระมัดระวังโดยเน้นการรักษาเสถียรภาพควบคู่
กบั การขยายตวั ทางเศรษฐกจิ ยงิ่ ชว่ ยใหร้ ะบบธนาคารพาณชิ ยข์ องไทยขยายตวั ดว้ ยความมน่ั คง ประชาชน
ใหค้ วามเชอ่ื ถอื ในระบบธนาคารพาณชิ ย์ จำ� นวนเงนิ ฝากและปรมิ าณการใชเ้ ชค็ เพมิ่ ขน้ึ ตลอดเวลา จนทำ� ให้
ธนาคารพาณิชย์เป็นสถาบันการเงินท่ีมีบทบาทและอิทธิพลสูงสุดของประเทศ และท�ำให้ระบบธนาคาร
พาณชิ ย์ไทยมีความเป็นปึกแผ่นกว่าเม่ือเทยี บกบั ระบบธนาคารพาณชิ ย์ตา่ งประเทศ
       การทรี่ ฐั บาลยดึ นโยบายเปน็ เอกราชดา้ นการเงนิ ทำ� ใหน้ กั ธรุ กจิ ไทยสามารถกมุ อำ� นาจการประกอบ
ธุรกิจธนาคารพาณิชย์ในประเทศไว้ได้ กล่าวได้ว่า การท่ีธนาคารพาณิชย์ขยายตัวมีส่วนช่วยให้ระบบ
เศรษฐกจิ ไทยเจรญิ เตบิ โตอยา่ งรวดเร็ว และท�ำให้ “เงิน” เข้ามามีบทบาทในทางเศรษฐกิจและการด�ำเนนิ
ชีวิตของประชาชนมากขนึ้

         61 นภพร เรืองสกลุ . เรือ่ งเดยี วกนั . น. 650-651.	
         62 ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ใน เกริกเกียรติ พิพัฒน์เสรีธรรม. (2536). วิวัฒนาการของระบบธนาคารพาณิชย์ไทย.
กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร.์ น. 22-29.
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48