Page 45 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 45
เศรษฐกจิ ไทยสมยั รัชกาลที่ 7–พ.ศ. 2519 11-35
ผลักดันและสนับสนุนให้ไทยมีการพัฒนาประเทศไปในแนวทางทุนนิยมเสรีที่มีลักษณะเปิดกว้างกว่าแบบ
ทนุ นยิ มโดยรฐั ถงึ แมว้ า่ รฐั บาลพยายามแกไ้ ขโดยการออกพระราชบญั ญตั สิ ง่ เสรมิ การลงทนุ ของเอกชน ใน
พ.ศ. 2497 แตไ่ มป่ ระสบผลสำ� เรจ็ นกั ในชว่ งทา้ ยของรฐั บาลจอมพล ป.พบิ ลู สงคราม ไดม้ กี ารเสนอนโยบาย
ที่จะให้รัฐมนตรีถอนตัวจากการท�ำธุรกิจส่วนตัว แต่ได้เกิดรัฐประหาร พ.ศ. 2500 น�ำโดยจอมพลสฤษดิ์
ธนะรัชต์ ข้นึ เสียกอ่ น และรัฐประหารครั้งน้ันนบั เป็นจดุ เรมิ่ ตน้ ของการยุตินโยบายทุนนยิ มโดยรฐั และนำ�
ไปส่กู ารปรบั เปลี่ยนเป็นนโยบายเศรษฐกจิ แบบทุนนยิ มเสรใี นชว่ งทศวรรษที่ 2500
กิจกรรม 11.2.3
จากการด�ำเนินนโยบายเศรษฐกิจช่วงหลังสงครามโลกคร้ังท่ี 2 สิ้นสุด-พ.ศ. 2500 ส่งผลต่อ
การปรบั ตัวภายในภาคการเกษตร อย่างไรบ้าง
แนวตอบกิจกรรม 11.2.3
การปลูกข้าวยังคงมีความส�ำคัญและข้าวเป็นพืชเศรษฐกิจท่ีส�ำคัญอันดับแรก รองลงมาคือ
ยางพารา และเริม่ มพี ชื ชนดิ อื่น เช่น ขา้ วโพด มันสำ� ปะหลงั และปอ