Page 35 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 35
เศรษฐกจิ ไทยสมยั รัชกาลท่ี 7–พ.ศ. 2519 11-25
พ.ศ. 2491-2492 ซึ่งสถานการณ์ดังกล่าว ส่งผลให้รัฐมีความจ�ำเป็นต้องเข้ามาจัดการระบบแลกเปล่ียน
เงินตราระหวา่ งประเทศต้งั แต่ช่วงหลังสงครามส้ินสุด44
ปัญหาเร่ืองค่าครองชีพและการขาดแคลนสินค้าภายในประเทศหลังสงคราม
จากภาวะการเงินการคลังของประเทศ ประกอบกับการขาดแคลนสินค้าอุปโภคบริโภค ท�ำให้ค่า
ครองชพี ของประชาชนสงู ขนึ้ ตงั้ แตส่ มยั สงครามจนสมยั หลงั สงคราม ปญั หาคา่ ครองชพี เกดิ ขน้ึ พรอ้ มๆ กบั
ปญั หาขาดแคลนสนิ คา้ โดยเฉพาะขา้ ว สนิ คา้ อปุ โภคบรโิ ภคสว่ นใหญต่ อ้ งสงั่ ซอื้ จากตา่ งประเทศและตอ้ งใช้
เงินตราต่างประเทศในการซื้อสินค้า แต่ช่วงหลังสงครามไทยขาดแคลนเงินตราต่างประเทศ ค่าเงินบาท
ตกต�่ำ และเพือ่ รักษาอตั ราแลกเปล่ียนเงนิ ตราตา่ งประเทศท่กี �ำหนดไวใ้ หค้ งที่ ท�ำใหร้ ฐั มีความจำ� เป็นตอ้ ง
ควบคุมและจัดสรรเงินตราต่างประเทศ รวมถึงการส่ังสินค้าเข้าท่ีรัฐไม่สามารถปล่อยให้มีการสั่งเข้ามาได้
อยา่ งเสรี แมจ้ ะมปี ญั หาการขาดแคลนสนิ คา้ เพราะจะมผี ลกระทบต่อการเงนิ การคลงั ของประเทศ ในกรณี
ของขา้ วเปน็ สนิ คา้ ทสี่ ำ� คญั และเปน็ ทต่ี อ้ งการในตลาดโลก ราคาขา้ วในตลาดโลกมรี าคาสงู กวา่ ราคาขา้ วใน
ประเทศมาก ท�ำให้มีการลักลอบน�ำข้าวส่งออกขายยังต่างประเทศ จนเป็นสาเหตุหน่ึงท่ีท�ำให้เกิดภาวะ
ขาดแคลนขา้ วท่วั ประเทศ
ประเทศไทยตอ้ งเผชญิ กบั ปญั หาอนั เปน็ ผลพวงของสงครามโลกครง้ั ท่ี 2 หลายประการดงั ทกี่ ลา่ ว
ขา้ งตน้ และเมอ่ื สนิ้ สดุ สงครามภาระกจิ เรง่ ดว่ น คอื การเจรจากบั ฝา่ ยสมั พนั ธมติ รเพอ่ื ยกเลกิ สถานะสงคราม
ของไทยและการบูรณะฟื้นฟูประเทศ ในการเจรจายกเลิกสถานะสงคราม สหรัฐอเมริกายอมรับว่าการ
ประกาศสงครามของไทยถอื เปน็ โมฆะ ขณะทอ่ี งั กฤษไมย่ อมรบั แตใ่ นทสี่ ดุ การเจรจาตกลงกนั ไดโ้ ดยการ
ลงนามเอกสารฉบบั หนงึ่ เรยี กวา่ “ความตกลงสมบรู ณแ์ บบเพอ่ื ยตุ สิ ภาวะสงครามระหวา่ งสยามกบั องั กฤษ
และอินเดีย” (Formal Agreement for the Termination of the State of War between Siam and
Great Britain and India) ในวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2489 และวันเดียวกันนั้นไทยได้ลงนามเพื่อยุติ
สถานะสงครามกับออสเตรเลยี ดว้ ย45
ความตกลงสมบูรณ์แบบฯ ระหว่างไทยกับอังกฤษมีสาระครอบคลุมทั้งด้านการเมือง การทหาร
และเศรษฐกจิ โดยมเี รื่องสาระสำ� คัญทเี่ ก่ียวกับเศรษฐกิจ ดังน้ี
1) ไทยจะต้องคืนบรรดาทรัพย์สิน และผลประโยชน์ของอังกฤษที่ได้มาระหว่างสงคราม และคืน
ดนิ แดนทเ่ี ขา้ ครอบครองในระหวา่ งสงครามใหก้ บั องั กฤษ พรอ้ มชดใชท้ ดแทนความเสยี หายทเ่ี กดิ ขนึ้ ทงั้ น้ี
รวมตลอดไปจนถึงการโอนสัญญาเช่าและสัมปทานเกี่ยวกับดีบุกและไม้สักคืนให้กับบริษัทเอกชนอังกฤษ
และยนิ ยอมให้อังกฤษกลบั เข้ามาทำ� ธรุ กจิ ตา่ งๆ ทั้งการคา้ พาณชิ ย์และการธนาคารต่อไปดว้ ย
2) ไทยรบั รองวา่ จะไมต่ ดั คลองเชอ่ื มมหาสมทุ รอนิ เดยี กบั อา่ วไทย (เชน่ การขดุ คอคอดกระ) โดยท่ี
รฐั บาลอังกฤษไมเ่ หน็ พ้องดว้ ย
3) ไทยรบั วา่ จะมสี ว่ นรว่ มในขอ้ ตกลงระหวา่ งประเทศเกย่ี วกบั ดบี กุ และขอ้ ตกลงวา่ ดว้ ยโภคภณั ฑ์
อน่ื ๆ ตามทอ่ี งคก์ ารสหประชาชาตจิ ะไดต้ กลงกนั รวมทงั้ หา้ มการสง่ ออกขา้ ว ยาง ดบี กุ ไมส้ กั นอกจากที่
จะใหเ้ ป็นไปตามท่ีองคก์ ารเศรษฐกจิ ทจี่ ะจดั ตงั้ ขน้ึ เปน็ พเิ ศษกำ� หนดให้
44 มาตรการในการจัดการระบบแลกเปลย่ี นเงนิ ตราระหว่างประเทศ ใน เจมส์ ซี อินแกรม. เรอื่ งเดยี วกัน.
45 ปิยนาถ บุนนาค. เรอ่ื งเดียวกัน. น. 206.