Page 78 - วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต
P. 78
6-68 วิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยีและสง่ิ แวดล้อมเพื่อชวี ิต
เน่ืองจากโลกเคล่ือนรอบดวงอาทิตย์ในลักษณะท่ีแกนเอียง คนบนโลกจึงสังเกตเห็นดวงอาทิตย์
เปลี่ยนตำ� แหน่ง โดยอย่ใู นซีกฟ้าเหนือ 6 เดอื น และอย่ใู นซีกฟ้าใต้อกี 6 เดือน และมี 2 วัน ที่ดวงอาทิตย์
อยู่บนเส้นศูนย์สูตรฟ้าพอดี นั่นคือวันที่ 21 มีนาคมและ 23 กันยายน เป็นวันท่ีโลกหันด้านข้างเข้าหา
ดวงอาทิตย์ เป็นวันซึ่งดวงอาทิตย์ข้ึนตรงจุดทิศตะวันออกพอดี และตกตรงจุดทิศตะวันตกพอดี ระหว่าง
21 มีนาคม ถงึ 23 กันยายน ดวงอาทติ ย์จะอยู่ในซกี ฟา้ เหนือ จงึ ข้นึ ทางตะวนั ออกเฉียงไปทางเหนอื และ
ตกทางทิศตะวันตกเฉียงไปทางเหนือ อยู่บนฟ้านานกว่า 12 ชั่วโมงวันท่ีดวงอาทิตย์อยู่เหนือสุดคือวันที่
21 มิถุนายน เป็นวันท่ีดวงอาทิตย์ข้ึนทางตะวันออกเฉียงไปทางเหนือประมาณ 23.4 องศา และตกทาง
ตะวันตกเฉียงไปทางเหนือประมาณ 23.4 องศา เส้นทางท่ีดวงอาทิตย์ขึ้นตกในวันท่ี 21 มิถุนายน เป็น
เส้นทางข้นึ ตก ทอี่ ยูเ่ หนือสดุ ของดวงอาทิตย์
ระหวา่ ง 23 กนั ยายน ถงึ 21 มนี าคม ดวงอาทติ ยจ์ ะอยูใ่ นซกี ฟา้ ดา้ นใต้ ทำ� ให้เหน็ วา่ ดวงอาทติ ย์
มเี สน้ ทางข้ึนตก อยูท่ างใตข้ องเสน้ ศนู ย์สูตรฟา้ วัน วนั ท่ี 22 ธนั วาคม เป็นวันท่ดี วงอาทติ ยม์ เี ส้นทางขนึ้
ตกอยทู่ างใตม้ ากทส่ี ดุ ในวนั นด้ี วงอาทติ ยจ์ ะขน้ึ ทางตะวนั ออกเฉยี งไปทางใตป้ ระมาณ 23.4 องศา และตก
ทางตะวันตกเฉียงไปทางใตป้ ระมาณ 23.4 องศา
2.3 กลางวันกลางคืน ยาวไม่เท่ากันตลอดทั้งปี วันที่กลางวันกลางคืนยาวเท่ากัน คือวันที่
ดวงอาทิตยข์ นึ้ ตรงจดุ ทิศตะวันออกพอดี ซ่งึ ไดแ้ ก่ วันที่ 21 มนี าคม และวนั ท่ี 23 กนั ยายน ในวันอ่นื ๆ
ดวงอาทิตย์ไม่ข้ึนตรงจุดทิศตะวันออกพอดี ดังนั้นกลางวันกลางคืน ส�ำหรับวันอ่ืนๆ จึงยาวไม่เท่ากัน
ระหว่าง 21 มีนาคม ถงึ 23 กันยายน เวลากลางวนั จะยาวกวา่ เวลากลางคืน โดยกลางวันยาวนานท่สี ุดใน
วนั ท่ี 21 มถิ ุนายน ระหวา่ ง 23 กันยายน ถงึ 21 มนี าคม เวลากลางวันจะสน้ั กวา่ เวลากลางคนื โดยเวลา
กลางวนั ส้นั ทสี่ ดุ ในวันที่ 22 ธันวาคม
2.4 ดาวฤกษ์ขึ้นเร็วขึ้น เนื่องจากในชีวิตประจ�ำวันเวลา 1 วัน เป็นเวลาที่เทียบกับดวงอาทิตย์
ทกุ คนรจู้ กั ดวงอาทติ ยม์ ากกวา่ รจู้ กั ดาวฤกษด์ วงอน่ื จงึ สะดวกกวา่ ทเี่ ทยี บกบั ดาวฤกษ์ แตเ่ วลา 1 วนั หรอื
โลกหมนุ รอบตวั เอง 1 รอบเมอ่ื เทยี บกบั ดวงอาทิตย์ ยาวกวา่ เวลา 1 วนั หากเทียบกบั ดาวฤกษ์ ประมาณ
4 นาที ดังน้ันจึงสรปุ ไดว้ ่า ดาวฤกษข์ ้ึนตก ตามเส้นทางเดิมทกุ วัน โดยขนึ้ เรว็ กวา่ วันกอ่ นวนั ละ 4 นาที
ตัวอยา่ งเช่น ดาวฤกษ์สวา่ งท่สี ุดในเวลากลางคืน ชื่อซริ อิ สั ขึน้ เวลา 19:30 นาฬกิ า ในวันท่ี 15
ธันวาคม วันที่ 16 ธันวาคม จะข้ึนเวลา 19:26 นาฬิกา ใน 1 เดือน หรือ 30 วัน จะข้ึนเร็ว 2 ช่ัวโมง
ดังนั้นในวันที่ 14 มกราคม ดาวซิริอัสจะขึ้นเวลา 17:30 นาฬิกา หรือกรณีก่อนวันท่ี 15 ธันวาคม
ดาวซิริอัสจะขน้ึ ชา้ กวา่ เวลา 19:30 นาฬิกา วนั ละ 4 นาที เชน่ วันท่ี 15 พฤศจิกายน ดาวซริ อิ สั ขนึ้ เวลา
21:30 นาฬกิ า เปน็ ต้น
3. ปรากฏการณ์จากการหมุนควงของแกนหมุนของโลก
แกนโลกเอยี งและโปง่ ออกบรเิ วณเสน้ ศนู ยส์ ตู ร ทำ� ใหด้ วงอาทติ ยแ์ ละดวงจนั ทรส์ ง่ แรงมาดงึ เพอื่ ให้
แกนโลกตงั้ ตรง แตโ่ ลกหมนุ รอบตวั เองอยแู่ กนโลกจงึ หมนุ ควง คลา้ ยการหมนุ ของลกู ขา่ งทแ่ี กนหมนุ เอยี ง
กบั พนื้ หอ้ ง แรงโนม้ ถว่ งของโลกจะดงึ แกนของลกู ขา่ งใหล้ งไปนอนกบั พน้ื ผลกค็ อื แกนของลกู ขา่ งหมนุ ควง
กอ่ นทจี่ ะลงไปนอนกบั พนื้