Page 16 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 16

6-6 ความรเู้ บือ้ งตน้ การสื่อสารชมุ ชน

เรื่องท่ี 6.1.1	
ท่ีมาของ “อ�ำนาจ” ในทางการเมือง

       “อำ� นาจ” (Power) เปน็ หนว่ ยการศกึ ษาทม่ี คี วามสำ� คญั อยา่ งมากและถกู ใหค้ วามสำ� คญั เปน็ พเิ ศษ
ใน สาขาวิชารัฐศาสตร์ โดยเฉพาะด้านการเมืองการปกครองต้ังแต่อ�ำนาจในระดับมหภาคลงมาสู่ระดับ
จุลภาค พบวา่ นิยามของ “อำ� นาจ” มอี ย่หู ลากหลายความหมาย

       อ�ำนาจ คือ พลัง ความสามารถ ศักยภาพ ก่อให้เกิดผลบางประการซึ่ง แม็ก เวเบอร์ (Max
Weber) นกั สังคมวทิ ยาชาวเยอรมัน กลา่ วถึง “อำ� นาจ” วา่ หมายถงึ ศักยภาพในการทจี่ ะบรรลผุ ล ขณะที่
คารล์ มารกซ์ (Karl Marx) นกั ปรชั ญาและนกั เศรษฐศาสตรก์ ารเมอื งชาวเยอรมนั กลบั ใหค้ วามสำ� คญั ใน
ฐานะโครงสร้างความสัมพนั ธ์ทางชนชน้ั ในวถิ กี ารผลติ ทนุ นิยม ว่าระหว่าง “ชนชัน้ ” นนั้ มี “อ�ำนาจ” ที่
เหล่อื มลำ้� กันอยู่อย่างไร

       นกั สงั คมศาสตรไ์ ดพ้ ยายามอธบิ ายความหมายของ “อ�ำนาจ” ว่าหมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่าง
มนุษย์กับมนุษย์ ท่ีบุคคลบุคคลหนึ่งสามารถจะท�ำให้บุคคลหน่ึงกระท�ำบางอย่างตามเจตจ�ำนงของตน
อาจโดยใช้อ�ำนาจบีบบังคับหรือยินยอมพร้อมใจก็ตาม หรืออาจจะเป็นไปโดยศรัทธาหรือผลประโยชน์
ก็ได้ โดยมีกฎเกณฑ์ของการมอี ยหู่ รอื สนิ้ สลายไปกไ็ ด้ (เสกสรรค์ ประเสริฐกลุ , 2555)

       ขณะทค่ี วามเข้าใจพ้ืนฐานวา่ ดว้ ยเรื่อง “การเมือง” ในทางรฐั ศาสตรน์ ้นั หมายถงึ “กระบวนการ
ทางสังคมที่เข้าไปแก้ไขปัญหาต่างๆ หรือบริหารจัดการทรัพยากร สิ่งมีค่าต่างๆ ของสังคมผ่านการใช้
อ�ำนาจ” ซึ่งเข้าสู่บริบทของการเมืองที่แบ่งออกเป็นหลายช้ัน ตั้งแต่อ�ำนาจรัฐที่เป็นศูนย์กลางของอ�ำนาจ
ทง้ั ปวง ตงั้ แตร่ ะดบั ชาติ ไลเ่ รยี งลงมาสรู่ ะดบั ของทอ้ งถนิ่ หรอื องคก์ ร (เสกสรรค์ ประเสรฐิ กลุ , เรอื่ งเดยี วกนั )

       ปรัชญา เวสารัชช์ (2549) ให้ความหมายของคำ� วา่ “การเมือง” ว่าหมายถงึ “การแจกแจง แบง่
สรรทรพั ยากรทมี่ คี า่ หายากในสงั คมโดยผมู้ อี �ำนาจหนา้ ท”ี่ โดยไดข้ ยายความวา่ ในแตล่ ะรฐั ประเทศ ยอ่ ม
มบี ุคคล คณะบคุ คล ทม่ี ีอ�ำนาจหน้าทใี่ นการจัดสรรทรัพยากรดังกล่าว อันได้แก่ เงนิ ต�ำแหน่ง ชอ่ื เสียง
อ�ำนาจ ให้ตกอยใู่ นมือใครและมากนอ้ ยเพียงใด

       นยั หน่งึ การเมอื งถกู มองใหเ้ ปน็ “เคร่ืองมอื ” หรือ “กลไก” ในการท่ีจะน�ำไปสู่เปา้ หมายท่ีสังคม
ตอ้ งการได้ หากการเมอื งเปน็ ไปดว้ ยดี กจ็ ะทำ� ใหส้ งั คมนนั้ มคี วามสงบสขุ เพราะสามารถทจ่ี ะใช้ “อำ� นาจ”
ในการจดั สรรทรพั ยากรทางสังคมอยา่ งทั่วถงึ และเทา่ เทยี มกนั ให้กบั ผคู้ นในสังคมได้

       ในความหมายท่ีถูกระบุไว้เช่นนี้ จึงสามารถช้ีให้เห็นได้ว่า ปัญหาท่ีมิได้ถูกแก้ไขด้วย “อ�ำนาจ”
จึงไมอ่ าจถอื ได้ว่าเป็น “การเมอื ง”

       คำ� ถามทีส่ �ำคญั ในทางปรัชญาการเมอื ง ก็คอื “ใครเป็นผูใ้ ช้อำ� นาจ” เป็นวิวาทะที่ส�ำคัญ กระท่งั มี
การถกเถยี งมาจากหลากหลายแนวคดิ และทฤษฎี เชน่ ทฤษฎคี นสว่ นนอ้ ยทมี่ คี ณุ สมบตั สิ งู สง่ เทา่ นน้ั ทค่ี วร
ได้ใช้อ�ำนาจ หรือการโต้แย้งว่าหากให้อ�ำนาจแก่คนส่วนน้อยนานเข้าคนกลุ่มน้อยที่ผูกขาดอ�ำนาจน้ันอาจ
จะเสียคนได้ในอนาคต จึงน�ำมาสู่แนวคิดให้คนส่วนใหญ่เห็นชอบในการสรรหาผู้มีอ�ำนาจท�ำหน้าท่ีแทน
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21