Page 17 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 17
การสื่อสารชุมชนกับการพัฒนาการเมืองชมุ ชน 6-7
คนในสังคม ฐานคิดเหล่านี้จึงมาสู่แนวความคิดในทางการเมืองการปกครองอันหลากหลาย แต่จุดร่วมที่
สำ� คญั บนฐานความคดิ นกี้ ค็ อื เมอื่ สงั คมจำ� เปน็ ตอ้ งมกี ารใชอ้ ำ� นาจในการบรหิ ารจดั การ กต็ อ้ งมกี ระบวนการ
สรรหาผู้กุมอ�ำนาจหรือทิศทางหลักอยู่ท่ีการสรรหาโดยเฉพาะระบอบประชาธิปไตย เพ่ือจะได้ระบุถึง
วตั ถปุ ระสงคข์ องการใชอ้ �ำนาจอยา่ งชอบธรรมและสามารถเปดิ โอกาสใหส้ งั คมตรวจสอบการใชอ้ �ำนาจนนั้ ได้
ประเด็นความชอบธรรม (Legitimacy) จึงมีความส�ำคัญมากต่อประเด็นของการศึกษาอ�ำนาจ
และการเมือง เพราะอ�ำนาจท่ีจะได้รับการยอมรับจะต้องมีท่ีมา จุดหมายและวิธีการใช้อ�ำนาจท่ีชอบธรรม
หากขาดองค์ประกอบอย่างใดอย่างหน่ึงก็จะขาดการยอมรับ ดังน้ันกระบวนการหน่ึงของการใช้อ�ำนาจคือ
จะท�ำอย่างไรให้คนเห็นพ้องกันหรือสร้างฉันทามติ (Consensus) ในการท่ียินยอมพร้อมใจ (Consent)
ที่จะยอมรับอ�ำนาจนนั้ ซ่งึ จะเปน็ ตัวท่บี ง่ บอกวา่ อำ� นาจนั้นจะมีเสถียรภาพยงั่ ยืนยาวนานได้เพียงใด
ในทางสงั คมศาสตรโ์ ดยเฉพาะแนวคดิ กระแสหลกั ทสี่ ำ� คญั อนั มฐี านความคดิ อยทู่ ที่ ฤษฎโี ครงสรา้ ง–
หน้าที่ น้ันให้ความส�ำคัญอย่างย่ิงกับการมีสังคมท่ีมีเสถียรภาพ ดังน้ันระบบการเมืองที่ดีจึงสามารถดูได้
จากสังคมที่มีฉันทามติ (Consensus) จากผู้ถูกปกครองให้ความยินยอมพร้อมใจ (Consent) และมอบ
ฉันทานุมัติให้ใช้อ�ำนาจน้ันโดยไม่ขัดขืน รวมไปถึงเม่ือเกิดความขัดแย้งข้ึนมาในสังคม ก็สามารถท่ีจะ
“จดั การความขดั แยง้ ” ใหร้ ะงบั ลงเสยี ได้ ระบบการเมอื งทด่ี จี งึ สามารถดไู ดจ้ ากวา่ สามารถรองรบั และบรหิ าร
ความขดั แยง้ อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพได้มากน้อยเพียงไร
แตส่ ภาวะบางชว่ งในทางการเมอื งทสี่ งั คมมคี วามขดั แยง้ สงู ผคู้ นในสงั คมมคี วามคดิ เหน็ ทแ่ี ตกตา่ งกนั
อยา่ งมากดา้ นอดุ มการณท์ างการเมอื ง สภาพของผปู้ กครองไมส่ ามารถทจ่ี ะกมุ ความคดิ หรอื สรา้ งอำ� นาจนำ�
(Hegemony) ได้อย่างสมบูรณ์ จึงเกิดสภาพท่ีผู้ใช้อ�ำนาจใช้อ�ำนาจไม่ได้เต็มที่ และอ�ำนาจทางการเมือง
ก็ไม่ได้อยู่ในฐานะของคนท่ีมีอ�ำนาจอย่างเป็นทางการอย่างเดียว เพราะคนมีฐานะแต่ส่ังใครไม่ได้ก็มี ใน
ทางตรงกันข้ามคนไม่มีฐานะแต่มีบารมีก็สามารถระดมความเช่ือถือจากสังคมได้ การเมืองจึงมีลักษณะที่
หนไี มพ่ น้ ความขดั แยง้ สภาพเชน่ นเ้ี รยี กวา่ “วกิ ฤตฉิ นั ทานมุ ตั ”ิ โดยขอ้ สรปุ ของการวเิ คราะหเ์ บอื้ งตน้ กค็ อื
หากเป็นเร่ืองท่ีเกี่ยวข้องกับอ�ำนาจหรือการเมือง ก็จะต้องแก้ไขประเด็นเหล่าให้ตรงจุดด้วยการแก้ปัญหา
ทางการเมือง ดังน้ันกระบวนการแก้ปัญหาการเมืองคือแก้ปัญหาความขัดแย้งอย่างต่อเน่ืองผ่านการใช้
อ�ำนาจท่มี าจากการเมอื งน่ันเอง
“อ�ำนาจ” ในทางการเมืองจะด�ำรงอยู่ได้นั้น อาศัยหรือถูกรองรับเอาไว้ด้วย “ความชอบธรรม”
(Legitimacy) ซ่งึ ยงั สมั พันธก์ ันอย่างแนบแนน่ กับ “ฉันทานมุ ตั ทิ างการเมือง” (Question of Political
Consensus) โดยต้องยอมรับว่า ความเห็นพ้องต้องกันทางการเมืองเป็นองค์ประกอบที่ส�ำคัญของการ
ปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย ซง่ึ สงั คมจะปราศจากความขดั แยง้ และอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งสนั ตไิ ดน้ นั้ เกย่ี วขอ้ ง
กบั ความชอบธรรมทางการเมอื งของผปู้ กครอง โดยความแตกตา่ งอนั สำ� คญั ระหวา่ งผปู้ กครองแบบอำ� นาจนยิ ม
กับแบบประชาธิปไตยนั้น ตัวช้ีวัดท่ีส�ำคัญก็คือ “ความเห็นพ้องต้องกัน” ทางการเมืองว่าวางอยู่พื้นฐาน
ของเสรีภาพในการแสดงความเห็นทางสาธารณะ โดยผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจของ
สาธารณชน อนั แตกต่างจากอ�ำนาจนยิ มที่มกั อาศัยการปลกุ ระดมเพื่อเรา้ ใหเ้ หน็ ดว้ ยกบั รฐั ที่ตนช้ีนำ� ได้