Page 20 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 20
6-10 ความร้เู บ้ืองต้นการสอ่ื สารชุมชน
โดยปกตแิ ลว้ การศกึ ษาทางสงั คมดา้ นอน่ื ๆ เชน่ ในสาขาวชิ าวชิ าดา้ นรฐั ศาสตรก์ ระแสหลกั ไดใ้ ห้
ความส�ำคญั ของอ�ำนาจในสถาบันหลัก รวมถึงการต้ังคำ� ถามว่า “อำ� นาจ” นัน้ เปน็ ของใคร ใครจะเปน็ ผมู้ ี
อำ� นาจทจ่ี ะใชแ้ ละบรหิ ารอำ� นาจนน้ั ในฐานะผปู้ กครอง ในขณะทส่ี าขามานษุ ยวทิ ยา แมจ้ ะมกี ารประยกุ ตใ์ ช้
การมองอ�ำนาจในฐานะ “ทรัพยากร” ท่ีใชเ้ พื่อบรรลุผล แตก่ ระนั้นก็มีจดุ ต่างในเรื่องของศูนย์กลางในการ
ศกึ ษา ไดเ้ คลื่อนย้ายไปสู่ ชนพ้ืนเมือง ผู้คนจากวัฒนธรรมอน่ื ๆ และคนชายขอบ มากกว่าจะเรม่ิ ตน้ ศกึ ษา
มาจากศนู ยก์ ลางของสถาบันหลัก
ค�ำถามท่ีส�ำคัญของนักเรียนการสื่อสารจึงอยู่ที่ว่า ศาสตร์ที่ตนเองสังกัดนั้นมีการพิจารณาต่อ
“ทที่ าง” (Position) ของ “อำ� นาจ” อยา่ งไร ความแตกตา่ งของมมุ มองเชน่ นี้ สะทอ้ นนยั สำ� คญั บางประการ
ของอ�ำนาจในฐานะหน่วยของการศึกษาว่ามีการยักย้ายถ่ายโอนได้ ในที่นี้การพิจารณาประเด็นของ
“อำ� นาจ” ผา่ นแบบจำ� ลองการสอ่ื สารแบบดงั้ เดมิ ทเี่ รยี กวา่ Transmission model กม็ ขี อ้ พจิ ารณาวา่ อำ� นาจ
กระจกุ ตวั อยอู่ งคป์ ระกอบใด เชน่ อยทู่ ต่ี วั ผสู้ ง่ สาร ผรู้ บั สารหรอื ทตี่ วั บทของการสอื่ สาร ในแบบจำ� ลองแบบ
ใหมๆ่ เชน่ แบบจำ� ลองการสอ่ื สารเชงิ พธิ กี รรม (Ritualistic model) นน้ั มคี วามสมั พนั ธท์ างอ�ำนาจระหวา่ ง
ผสู้ ง่ สารกับผูร้ บั สาร มลี กั ษณะอยา่ งไรเช่นกนั
นิยามท่ี 2 อ�ำนาจคือสิทธิให้กระท�ำการ
ประเด็นท่ีพิจารณาในที่นี้คือ อ�ำนาจอันชอบธรรม (Legitimacy Power) อ�ำนาจในแนวทางนี้
หมายถงึ อำ� นาจเกดิ จากการยนิ ยอม (consent) ของผตู้ าม คำ� ถามกค็ อื ปจั จยั ใดทสี่ ง่ ผลใหผ้ ใู้ ชอ้ ำ� นาจนน้ั
มีผู้ยอมกระทำ� ตามเจตจ�ำนงของผูท้ ใ่ี ช้อำ� นาจนนั้
ทลั คอต พารส์ นั (Talcot Parson) นกั สงั คมวทิ ยาชาวอเมรกิ นั อธบิ ายความสมั พนั ธล์ กั ษณะเชน่ น้ี
ว่าการใช้อ�ำนาจเกิดขึ้นจากความยินยอมพร้อมใจของผู้ตามหรือผู้ถูกปกครอง จุดยืนของพาร์สัน ท่ีอยู่
บนฐานคดิ แบบหนา้ ทน่ี ยิ ม (Functionalism) มองวา่ อำ� นาจมหี นา้ ทใี่ นการปกปกั รกั ษาระบบตามพนั ธสญั ญา
ทม่ี เี ปา้ หมายรว่ มกนั ซงึ่ หากมกี ารแขง็ ขนื ตอ่ ตา้ นกจ็ ะตอ้ งถกู ควบคมุ ปราบปราม เพอื่ รกั ษาระบบนนั้ เพอื่ คนื
สมดุลแก่ระบบนน้ั พารส์ ัน จึงยำ้� อย่างหนักแน่นว่า “ความชอบธรรม” กบั “อำ� นาจ” เปน็ สง่ิ ท่คี วบคูแ่ ละ
ดำ� เนนิ ไปดว้ ยกนั (Parson, 1969: 36) เชน่ เมอ่ื ประชาชนใหค้ วามไวว้ างใจในการเลอื กตงั้ แลว้ เทา่ กบั ปวงชน
ไดม้ อบสทิ ธใิ หก้ บั รฐั บาลแลว้ รฐั บาลกม็ พี นั ธะตอ่ ปวงชนใหบ้ รรลุ ผล ขอ้ พจิ ารณาในประเดน็ นจ้ี งึ มขี อ้ สงั เกต
ว่า หากเกดิ การตอ่ ต้านอำ� นาจเกดิ ขนึ้ กจ็ ะตอ้ งตงั้ ข้อสังเกตตอ่ ความ “ชอบธรรม” ของอำ� นาจน้ันดว้ ย
นิยามท่ี 3 อ�ำนาจเป็นความสัมพันธ์ทางสังคม (Social Relation)
นิยามอ�ำนาจท่ีเน้นเร่ืองความสัมพันธ์ทางสังคมนั้นมีความต่อเนื่องมาจากนิยามท่ี 1 แต่ในนิยาม
เช่นนี้เช่ือว่า “อ�ำนาจ” จะไม่สามารถแสดงออก (exercise) มาได้ หากไม่มีความสัมพันธ์รองรับ ขณะ
เดียวกันก็สัมพันธ์ต่อกันและกันก็คือ “อ�ำนาจ” น่ันแหละท่กี อ่ ใหเ้ กิดลกั ษณะหรอื เงอ่ื นไขทก่ี ำ� หนดความ
สมั พนั ธท์ างสงั คม ทงั้ บงั คบั ครอบงำ� ตอ่ สู้ ตอ่ รอง ชว่ งชงิ ตามวถิ รี ะบอบความสมั พนั ธท์ เี่ ปน็ พน้ื ฐานของ
ความสมั พันธ์นนั้