Page 21 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 21
การส่ือสารชุมชนกบั การพัฒนาการเมอื งชุมชน 6-11
สำ� นกั คดิ ทเ่ี นน้ การอธบิ าย “อำ� นาจ” ในลกั ษณะเชน่ นจี้ ะขอกลา่ วถงึ บางสำ� นกั ทส่ี ำ� คญั และไดแ้ สดง
ทศั นะต่อเร่อื งเหลา่ นีค้ อื 1) ส�ำนกั มาร์กซ์คลาสสกิ และ 2) ส�ำนกั นีโอมารก์ ซิสต์
1) ส�ำนักมาร์กซค์ ลาสสิก ในประเดน็ นจี้ ะทำ� การอธบิ ายแกน่ สำ� คญั ของสำ� นกั คดิ น้ี มองเรอื่ งความ
สมั พนั ธท์ างสงั คมวา่ ประกอบดว้ ยสองสว่ น คอื โครงสรา้ งสว่ นลา่ ง (Base Structure) กบั โครงสรา้ งสว่ นบน
(Super Structure) ความโดดเด่นของส�ำนักน้ีคือ จุดยืนของการศึกษาท่ีมิใช่แค่การท�ำความเข้าใจสังคม
แต่ยังให้ความส�ำคัญของภาคปฏบิ ัตเิ พือ่ การเปล่ียนแปลงสังคมอกี ด้วย คาร์ล มาร์กซ์ (Karl Marx) ผทู้ ่ี
ถอื ไดว้ า่ เปน็ บดิ าของสำ� นกั นี้ อธบิ ายถงึ การกอ่ รปู ทางสงั คมวา่ มอี งคป์ ระกอบทส่ี ำ� คญั อยู่ 2 สว่ น โครงสรา้ ง
ส่วนล่าง คือพื้นฐานทางเศรษฐกิจของสังคม ท�ำให้สังคมมี “วิถีการผลิต” ทางเศรษฐกิจ (Mode of
production) เป็นฐานส�ำคัญ ผ่านการอธิบายภาพของพัฒนาการของระบบการผลิตตามห้วงเวลาของ
ประวัติศาสตร์สังคม โครงสร้างส่วนบน (Super structure) หมายถึง สิ่งที่ไม่ใช่ส่วนประกอบทางปัจจัย
ด้านเศรษฐกิจ แต่เก่ียวข้องกับการอบรมปลูกฝัง ความเชื่อ ได้แก่ ศาสนา อุดมการณ์ การเมือง ฯลฯ
มารก์ ซสิ ตส์ ายคลาสสกิ เช่อื วา่ โครงสรา้ งสว่ นล่างมีอำ� นาจในการกำ� หนดเนื้อหาและรปู แบบการแสดงออก
ของโครงสร้างสว่ นบน
มิติทางอ�ำนาจที่ส�ำนักน้ีมองก็คือ ความสัมพันธ์ระหว่างเจ้าของปัจจัยการผลิต (ทุน ท่ีดิน
แรงงาน) กับผู้ผลิต หมายถึงชนชน้ั ท่ตี ้องขายแรงงานให้กับเจ้าของปจั จัยการผลติ ความสมั พันธ์ระหว่าง
สองชนช้ันนี้คือ “ความขัดแย้งทางชนช้ัน” และเป็นความสัมพันธ์ทางอ�ำนาจท่ีไม่เท่าเทียมกัน แต่เหตุท่ี
เจา้ ของปจั จยั การผลติ ยงั คงดำ� รงอยไู่ ด้ เพราะชนชน้ั แรงงานสว่ นใหญย่ งั คงยงั คงยอมจำ� นน โดยมจี ติ สำ� นกึ
ท่ีผิดพลาด (False Consciousness) ท่ีครอบง�ำได้อย่างมีประสิทธิภาพจนท�ำให้ขาดความตระหนักและ
ขาดการมองท่เี อารัดเอาเปรยี บของนายทนุ ผา่ นการผลิต
2) แนวนีโอมาร์กซิสต์ แนวทางการศึกษากลมุ่ นก้ี ค็ ือ การอธบิ ายและใหค้ วามสำ� คัญตอ่ มติ ิของ
“อ�ำนาจ” ค่อนข้างมาก โดยเฉพาะแนวคิดเรื่อง “การครองความเป็นเจ้า” หรือแนวความคิด “อ�ำนาจ
น�ำ” (The Hegemonic Theory) ผนู้ �ำทางความคดิ กลมุ่ นคี้ ือ อนั โตนิโอ กรัมช่ี (Antonio Gramsci)
นกั ปฏวิ ตั สิ งั คมทอ่ี ยใู่ นชว่ งเผดจ็ การ มสุ โสลนิ ี แหง่ อติ าลี งานชนิ้ สำ� คญั ทช่ี อื่ วา่ “Selection from Prison
Notebook” กลา่ วถึงภาวะการน�ำหรือการครองความเปน็ เจา้ ตามทศั นะของกรัมช่ี หาใชก่ ารมอี ิทธพิ ลใน
ทางการเมืองแต่เพียงด้านเดียว แต่ครอบคลุมไปถึงระบบความคิด การตีความระบบความหมายของสิ่ง
รอบตัว ซ่ึงอาจเรยี กรวมๆ วา่ “ระบบวัฒนธรรม”
กรัมชี่ พยายามทีจ่ ะเสนอแนวคดิ การครองความเป็นเจ้า (hegemony) แทนท่ที ฤษฎสี งั คมดว้ ย
การยดึ อำ� นาจรฐั กรัมช่ยี งั ตัง้ ข้อสังเกตดว้ ยวา่ ทีช่ นชั้นปกครองยงั คมุ การนำ� ทางสงั คมได้ แมภ้ ายใต้วกิ ฤติ
แคไ่ หนยอ่ มสะทอ้ นใหเ้ หน็ วา่ อำ� นาจและการครอบงำ� ยงั ทำ� งานดอี ยู่ โดยผถู้ กู ปกครองยงั ศรทั ธาและยอมรบั
อำ� นาจนั้น มีเคร่ืองมืออนั ทรงประสิทธิภาพในการสรา้ งกลไกความชอบธรรมผ่าน “กลไกทางอุดมการณ”์
(Ideological Apparatus) ใหย้ อมรับคา่ นิยม จรยิ ธรรม อดุ มการณ์ของชนช้ันปกครอง ควบค่กู บั กลไก
บงั คบั (Coercive Apparatus)
กรมั ชย่ี ำ�้ อยา่ งหนกั แนน่ วา่ การควบคมุ อำ� นาจนำ� ทางอดุ มการณ์ ทำ� ใหก้ ารนำ� ทางสงั คมของชนชน้ั
ปกครองกด็ ี บรรดานายทนุ ทง้ั หลาย แขง็ แกรง่ เสยี ยง่ิ กวา่ การใชอ้ ำ� นาจรฐั บงั คบั สามารถทจี่ ะใหป้ ระชาชน