Page 22 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 22

6-12 ความรู้เบือ้ งตน้ การสือ่ สารชมุ ชน
ที่ถูกปกครองเช่ือว่า ผลประโยชน์ของชนช้ันน�ำก็ “เท่ากับ” หรือเป็น “ผลประโยชน์ของชาติ” โดยช้ัน
ปกครองหาได้อาศัยการโฆษณาชวนเช่ือทางความคิดแต่ประชาชนฝ่ายเดียว แต่จะมีกลวิธีในการ
ประนปี ระนอม หาใชต่ กั ตวงจากผลประโยชนจ์ ากประชาชนฝา่ ยเดยี ว แตจ่ ะแบ่งปันผลประโยชนบ์ างสว่ น
ใหป้ ระชาชนจริง เพอื่ รักษาผลประโยชนจ์ ากทุกฝ่ายในระยะยาว (วทิ ยากร เชยี งกูล, 2538)

       ขอ้ เสนอของกรมั ชก่ี ค็ อื ชนชั้นกรรมาชีพต้องพยายามช่วงชิงอ�ำนาจน�ำหรือการครองความเป็น
เจ้า จากชนช้ันนายทุน ชนชั้นน�ำ ชนช้ันปกครองดว้ ยการหาวธิ ที ำ� ลายความชอบธรรมในการนำ� ทางสงั คม
การเมือง จรยิ ธรรม วฒั นธรรม อดุ มการณ์ของชนช้นั นำ� และต้องผสานกำ� ลงั ของทกุ หมู่ ชนชน้ั ซงึ่ กรัมช่ี
ยำ้� วา่ ไมใ่ ชก่ ารแยง่ ชงิ อำ� นาจรฐั แตเ่ ปน็ สงครามเพอ่ื แยง่ ชงิ และครอบครอง พนื้ ทท่ี างวฒั นธรรมและการเมอื ง

       ในการน�ำสังคมโดยภาคประชาสังคมที่เคล่ือนย้ายความสนใจมาสู่โครงสร้างส่วนบน (Super
structure) ของกรมั ชใ่ี หค้ วามส�ำคญั อยา่ งสงู ในการเปลยี่ นแปลงสงั คมและวธิ คี ดิ ของชนชน้ั กรรมาชพี การ
เปลย่ี นปลงเชน่ น้ี จะเหน็ การเคลอื่ นยา้ ยความสนใจจากการคดิ โครงสรา้ งหลกั มาสปู่ จั เจกชนและปฏบิ ตั กิ าร
ในชีวิตประจ�ำวันของปัจเจกชนในฐานะผู้กระท�ำการ (Agency) ท้ังยังเป็นการต่อสู้ ต่อรอง แย่งชิงพ้ืนที่
จากฝ่ายท่ีครองอ�ำนาจความเป็นเจ้าทางความคิด จึงเป็นปริมณฑลของการต่อสู้อย่างยืดเย้ือ (ดู รัตนา
โตสกุล, 2548: 30, กาญจนา แกว้ เทพ, 2547)

นิยามท่ี 4 อ�ำนาจเป็นวาทกรรมของความรู้ ความจริงที่มีปฏิบัติการ (Discursive Practice)

       ประเดน็ สำ� คญั วา่ ดว้ ยอำ� นาจทนี่ กั ศกึ ษาควรทำ� ความเขา้ ใจในแนวความคดิ แบบใหมซ่ ง่ึ ถอื เปน็ แนว
ความคิดยุคล่าสุด ท่ีท�ำการศึกษาและนิยามเร่ืองของอ�ำนาจ ซ่ึงจะกล่าวถึง แนวความคิดกลุ่มสมัยใหม่
(Post modernism) โดยทีส่ กลุ แนวคิดน้ีสนใจอำ� นาจในระดบั ทเี่ กดิ ขึ้นจากการนิยามความหมาย โดยเชื่อ
ว่า อำ� นาจ ความจริง ความรตู้ ่างๆ ในระบบการเมือง ไมไ่ ด้เกิดขนึ้ ตามธรรมชาติแตถ่ กู ประกอบสร้างขึน้
มา ผลิตซำ้� และถา่ ยทอดผา่ นกลไกทางสังคมและปฏบิ ตั ิการตา่ งๆ ในชีวิตประจำ� วนั ความหมายถกู ผกู เข้า
กบั “อ�ำนาจ” จนน�ำไปสู่การจดั วางระบบ ตำ� แหนง่ แหง่ ทแ่ี ละความสัมพันธใ์ นทางสังคม

       งานทที่ รงอทิ ธพิ ลชิน้ สำ� คัญของ มิเชล ฟูโกต์ เรอ่ื ง อ�ำนาจ ความรู้ (Power/ Knowledge) และ
ของ ปแิ อร์ บดู เิ ยอร์ เร่อื ง แนวคดิ อำ� นาจสัญลักษณ์ (Symbolic Power)

       ลำ� ดบั ความคดิ และความหมายเรอื่ งอำ� นาจ ของฟโู กต์ ทจ่ี ะกลา่ วอยา่ งยอ่ วา่ อทิ ธพิ ลทางความคดิ
ของเขาแผ่เข้ามาสู่อาณาบริเวณของการศึกษามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ในปัจจุบันอย่างมาก โดยท่ี
เขาเสนอใหพ้ จิ ารณาอำ� นาจในลกั ษณะทเี่ ชอื่ มกบั ความรแู้ ละการทำ� ใหม้ นษุ ยเ์ ปน็ องคป์ ระธานทถ่ี กู กระทำ�
(Subject) โดยมนุษย์เป็นผลผลิตของวาทกรรมความรู้จากศาสตร์ต่าง ๆ ซ่ึงอ�ำนาจหาได้กระจุกตัวอยู่
แต่ในสถาบันทางการเมืองเท่าน้ัน แต่กลับแผ่ซ่านอยู่รอบตัวเราในทุกมิติจนเราแทบไม่รู้ตัว

       “อ�ำนาจ” ตามทัศนะของการศึกษาวฒั นธรรมในชุดทนุ นยิ มสมยั ใหม่ ในทนี่ จี้ ะกล่าวถึง 2 ส�ำนัก
คดิ ทส่ี ำ� คญั ในสายทเี่ รยี กวา่ การศกึ ษาวฒั นธรรมแนววพิ ากษ์ (Critical Cultural Studies) ซงึ่ ถอื วา่ เปน็
ปกี ยอ่ ยๆ ของสำ� นกั มารก์ ซสิ ตห์ รอื สำ� นกั เศรษฐศาตรก์ ารเมอื งกค็ อื 1) ทฤษฎวี พิ ากษข์ องสำ� นกั แฟรงคเ์ ฟริ ต์
(Critical Theory of the Frankfurt School) และ 2) วัฒนธรรมศึกษาของส�ำนักเบอร์มิงแฮม
(Birmingham school of Cultural Studies)
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27