Page 25 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 25

การส่ือสารชมุ ชนกบั การพัฒนาการเมืองชุมชน 6-15
ภาคปฏบิ ตั ิที่มผี ลมาจากความเข้าใจร่วมกนั ทงั้ ในปรมิ ณฑลสว่ นตัวและสาธารณะ แตก่ ระนัน้ Life world
แบบโลกสมยั ใหมข่ องมวลชนกย็ ังถกู ควบคุมมากขนึ้ โดยโครงสรา้ งอำ� นาจรัฐและระบบตลาด

       ในฐานะปัญญาชนรุ่นสามและเป็นชาวเยอรมันโดยก�ำเนิด ท่ีแตกต่างจากนักวิชาการร่วมส�ำนัก
คนอื่นๆ ที่ส่วนใหญ่เป็นคนยิว ท่ีหลงเหลือจากการกวาดล้างในยุคของนาซี จนท�ำให้มีอคติค่อนข้างมาก
ต่ออ�ำนาจและการเมือง ขณะท่ีตัวฮาเบอร์มาสเป็นบุคคลร่วมสมัยในช่วงของการฟื้นฟูสังคมหลังสงคราม
รวมถึงได้รับอิทธิพลของปรัชญามนุษยนิยมเยอรมันแบบเอ็มมานูเอล คานท์ (Immanuel Kant) ท�ำให้
เขาเช่อื ในเร่ืองของการใชเ้ หตุผล ความรู้และการสอ่ื สารในรูปแบบต่างๆ ทัง้ ยังเหน็ ดว้ ยกบั การถกเถียงโต้
แย้งอย่างเสรีเพ่ือใช้เหตุผล เพ่ือการอยู่ร่วมกันอย่างมีคุณภาพและสันติ แนวคิดเร่ือง “พื้นที่สาธารณะ”
จึงเป็นแนวคิดส�ำคัญของเขาที่พยายามยกภาพตัวอย่างในศตวรรษท่ี 18 คือภาพของการขยายตัวของ
“ภาคประชาสังคม” (Civil Society) มีอ�ำนาจอย่างเต็มท่ีปลอดจากอ�ำนาจของทุนนิยมก่อนจะเข้ามา
อิทธิพลอย่างเต็มท่ีในเวลาต่อมา อ�ำนาจของประชาสังคมในขณะนั้น ปรากฏอยู่ในพื้นที่สาธารณะเท่าๆ
กบั ทอี่ ยู่ภายใต้การควบคมุ ของรฐั

       “อ�ำนาจ” ตามทัศนะของฮาร์เบอร์มาสในพ้ืนที่สาธารณะ คือพลังของการแสดงออกโดยใช้
เหตผุ ล (Rationality) มาตง้ั คำ� ถามทที่ า้ ทายอำ� นาจรฐั ถงึ กระนน้ั เขากต็ ระหนกั ดวี า่ แนวคดิ พน้ื ทสี่ าธารณะ
มบี รบิ ททางประวตั ศิ าสตรก์ ำ� กบั อยู่ หาไดเ้ กดิ ขน้ึ กบั ทกุ ยคุ ทกุ สมยั ฮารเ์ บอรม์ าสเชอื่ วา่ พน้ื ทส่ี าธารณะจะ
เปน็ เวทตี อ่ รองทางอำ� นาจและสรา้ งสงั คมทเ่ี ปลย่ี นผา่ นไปสสู่ งั คมทไ่ี รเ้ หตผุ ลไปสกู่ ารมเี หตผุ ลและขบวนการ
เคลอ่ื นไหวทางสงั คมในพน้ื ทสี่ าธารณะของปจั เจกและกลมุ่ จะเปน็ วถิ ที างเดยี วทจ่ี ะฟน้ื ฟู Life world ผา่ น
ปฏบิ ัติการทางการสอ่ื สาร (Communicative Action)

       เมอื่ พจิ ารณาอำ� นาจเร่ืองของ “อ�ำนาจ” จากข้อเสนอของอดอรโ์ นและฮอกไฮเมอร์ ท่ีจะเสนอใน
ประเดน็ การวิพากษอ์ ุตสาหกรรมวฒั นธรรม แต่ก็ไดม้ องข้ามการมีอำ� นาจในการต่อกรกบั รัฐทีม่ ิไดม้ ปี ฏิบัติ
การทางสังคมใดๆ ต่างจากข้อเสนอของฮาเบอร์มาสที่พยายามขับเน้นและเติมเต็มอ�ำนาจน้ีให้เกิดขึ้นกับ
ปจั เจก เพื่อต่อสู้ ต่อรองในปรมิ ณฑลสาธารณะ

       2) “อ�ำนาจ” ตามทัศนะของส�ำนักวัฒนธรรมศึกษา เบอร์มิงแฮม (The Birmingham School)	
ส�ำนักคิดยุคใหม่ท่ีมีอิทธิพลอย่างสูงต่อการศึกษาสังคมศาสตร์และการส่ือสารมวลชนในปัจจุบัน ที่พัฒนา
มาจาก “ศนู ย์ศกึ ษาวัฒนธรรมรว่ มสมยั ” (Centre for contemporary cultural studies: CCCS) ณ
มหาวทิ ยาลยั เบอรม์ งิ แฮม สหราชอาณาจกั ร ทกี่ อ่ ตง้ั มาตง้ั แตป่ ี 1964 จนถกู เรยี กกนั มาจนเปน็ ทคี่ นุ้ เคยวา่
“ส�ำนักเบอร์มิงแฮม” (The Birmingham School) หรือส�ำนักวัฒนธรรมศึกษาแบบอังกฤษ (British
Cultural Studies) ที่บุกเบิกท�ำการศึกษาวัฒนธรรมร่วมสมัยของอังกฤษ ท่ีพัฒนาและสนใจศึกษา
วฒั นธรรมทย่ี ังมีอย่ใู นชีวติ ประจำ� วันของผู้คนธรรมดา เช่น สือ่ เพศ วัยร่นุ คนชายขอบ วัฒนธรรมยอ่ ย
ที่ใช้วิธีวิทยาแบบผสมผสานและเป็นสหวิทยาการ

       ภายใต้เงื่อนไขบริบททางสังคมของอังกฤษในขณะนั้น ความม่ันคงจนสามารถจัดรัฐสวัสดิการให้
กบั ผคู้ น รวมถงึ การขยายตวั ของชนชนั้ กลาง ทพ่ี ฒั นาวถิ คี วามเปน็ อยแู่ ละรสนยิ มแบบใหม่ ขณะทว่ี ฒั นธรรม
แบบด้ังเดิมท่ีเร่ิมอ่อนตัวลงจากวัฒนธรรมประชานิยม (Popular Culture) ซึ่งกลายมาเป็นประเด็นการ
ศึกษาท่ีส�ำคัญของส�ำนักคิดนี้ ด้วยรากฐานความคิดเดิมท่ีได้รับอิทธิพลแบบมาร์กซิสต์อย่างเข้มข้น ขณะ
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30