Page 28 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 28

6-18 ความรู้เบอ้ื งต้นการสอ่ื สารชุมชน
       “ชุมชนคนรักสิ่งเดียวกัน” หรือกลุ่ม “แฟนคลับ” (fan club) ถือเป็นกลุ่มคนประเภทใหม่ที่

นกั วชิ าการใหค้ วามสนใจกนั มาก เปน็ กลมุ่ คนทเ่ี ตบิ โตมาในยคุ ของอตุ สาหกรรมสอื่ โดยเฉพาะ ไมว่ า่ จะเปน็
ฟุตบอล ของเล่น ศิลปิน ดารา กลุ่มคนดังกล่าวแม้จะอยู่ต่างพ้ืนท่ีแต่รวมกันด้วยความรักในส่ิงเดียวกัน
สายสัมพันธ์ของคนกลุ่มน้ีผูกโยงเอาไว้ด้วย “ชุมชนตราสินค้า” (brand community) ซึ่งในระยะหลังมี
การพัฒนารูปแบบของการชมุ นุมทน่ี ่าสนใจมาก

       “ชุมชนออนไลน์” (online community) หรือบางคร้ังก็จะเรียกว่า “ชุมชนเสมือน” (virtual
community) หรอื “ชุมชนไซเบอร”์ (cyber community) เปน็ ชุมชนประเภทใหม่ทีโ่ ยงสายสมั พันธ์กัน
ผ่านระบบคอมพิวเตอร์ออนไลน์ ในโครงข่ายชุมชนสังคมออนไลน์ ท่ีมีลักษณะพิเศษในเชิงการแสดง
อตั ลกั ษณ์ของตนอยา่ งจำ� เพาะ

       ชุมชนในจติ ใจ นถ้ี อื ได้ว่าเป็น “ชมุ ชนแบบใหม”่ (new community) ซ่งึ ไมไ่ ด้เน้นมติ เิ ชิงพืน้ ที่
แตส่ นใจการรวมตวั กันของผู้คนทม่ี ีความสนใจหรอื ส�ำนกึ บางอย่างรวมกัน มคี วามหมายบางอย่างรว่ มกัน
และมกี ารสอ่ื สารกนั เปน็ ประจำ�  โดยมจี ดุ รว่ มกนั คอื การรวมตวั ภายใตค้ วามสมั พนั ธบ์ างอยา่ ง มโี ครงสรา้ ง
ของชมุ ชนในลักษณะเฉพาะ มีบทบาทหนา้ ท่ขี องชมุ ชนและถูกรอ้ ยรดั เอาไวด้ ้วย “การส่ือสาร”

       อยา่ งไรกต็ ามชมุ ชนมพี ฒั นาการทางประวตั ศิ าสตรจ์ ากอดตี ทสี่ งั คมใหค้ วามสำ� คญั อยา่ งมาก จนถงึ
ช่วงกลางชุมชนถูกลดบทบาทลงและรัฐก็ให้ความส�ำคัญแก่ชาติแทน แต่ในปัจจุบัน ชุมชนกลับได้รับการ
ใหค้ วามส�ำคญั อกี ครงั้ เพราะมองวา่ ชมุ ชนเปน็ ทรี่ วมตวั กนั เปน็ สถาบนั เปน็ เรอ่ื งสทิ ธขิ องผคู้ นทจ่ี ะรวมตวั
และที่ส�ำคัญคือ มีความส�ำคัญต่อการพัฒนาสังคม หากชุมชนพัฒนาก็จะกลายเป็นแรงผลักดันการ
เคลื่อนไหวระดับมหภาค

       เอนก เหล่าธรรมทศั น์ (2556) ปรารภถึงความคดิ ใหม่ (reconceptualize) ของความเป็นชุมชน
กบั การเมอื งวา่ แตเ่ ดมิ ถกู มองวา่ คอื การแลกเปลย่ี นกนั ของนกั การเมอื งกบั ประชาชนในรปู ของคะแนนเสยี ง
และการเลือกต้งั เทา่ น้ัน เชน่ คะแนนเสียงแลกกับนโยบายหรอื โครงการตา่ งลงสรู่ ะดับชมุ ชน แต่เม่ือเอนก
ลงสำ� รวจความหมายอกี ครงั้ กลบั พบวา่ ขอ้ เสนอของ นกั คดิ แนววฒั นธรรมชมุ ชน อนั ประกอบดว้ ย ประเวศ
วะสี ฉัตรทิพย์ นาถสภุ า และเสนห่ ์ จามรกิ น้นั มขี อ้ สังเกตที่นา่ สนใจประการหน่ึงก็คอื แนวทางการศึกษา
ดงั กลา่ วเนน้ ใหค้ วามสำ� คญั ของ การรว่ มคดิ รว่ มทำ�  การทำ� ประโยชนส์ ขุ เพอื่ สว่ นรวม เปน็ แนวทางการเมอื ง
ท่ีเน้นการสมัครสมานมากกว่าแข่งขันหรือขัดแย้ง เน้นการเมืองท่ีท�ำไปเพื่อระดมทรัพยากรและกายใจใน
ชุมชนเพ่อื ชุมชน ซึง่ เป็นการเมืองเพื่อการ “พง่ึ ตนเอง” โดยเฉพาะไม่หวังพึง่ นกั การเมืองและผูม้ ีอิทธิพล

       เอนก ชว้ี า่ ความโดดเดน่ ของแนวทางการศกึ ษาของกลมุ่ วฒั นธรรมชมุ ชน คอื การวพิ ากษว์ จิ ารณ์
รัฐและระบบราชการ สอนให้พ่ึงพารัฐน้อยลง มีความภาคภูมิใจและไม่หวังพึ่งและรอคอยรัฐ ซ่ึงถือได้ว่า
เป็นการปลูกฝังอุดมการณ์พัฒนาโดย “ชุมชน” อาจกล่าวได้ว่า แนวทางเช่นนี้ถือว่าเป็นลักษณะของ
ประชาธิปไตยโดยตรง ที่เสริมสร้างพลังและให้บทบาทแก่ประชาชนที่ค�ำว่าการเมือง ไม่ได้ส้ินสุดที่คูหา
เลือกต้ังเฉพาะฤดูการเลือกต้ังเท่านั้น อย่างไรก็ตามก็มีข้อสังเกตว่า ทัศนะทางการเมืองแบบวัฒนธรรม
ชุมชน จะต้องมีความสามารถในการไตร่ตรองปัญหาอย่างรอบด้าน มองภาพรวมและค�ำนึงถึงประโยชน์
ของสว่ นรวม เพราะไมเ่ ชน่ น้นั ความไดเ้ ปรยี บจะไปตกอยทู่ ีผ่ ู้ทีช่ อบเคลื่อนไหว พูดเกง่ (ดู เอนก, 2556:
9-10)
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33