Page 33 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 33

การสือ่ สารชมุ ชนกบั การพฒั นาการเมอื งชมุ ชน 6-23

การเมืองภาคพลเมือง/การเมืองภาคประชาชน

       การเมอื งภาคพลเมอื งคอื อะไร เดวดิ แมทธวิ ส์ (David Matthew) นกั คดิ คนสำ� คญั ของแนวคดิ นี้
ใหค้ วามหมายวา่ การนยิ ามจะตอ้ งขนึ้ อยกู่ บั บรบิ ทของการมปี ระชาสงั คม (Civil Society) ทปี่ จั เจกบคุ คล
จากหลากหลายครอบครวั เขา้ มสี ว่ นรว่ มในกระบวนการตดั สนิ ใจและลงมอื ปฏบิ ตั กิ ารรว่ มกนั ในฐานะเจา้ ของ
เรอื่ งหรอื เจ้าของปญั หานน้ั ๆ โดยเป็นกิจกรรมทอี่ ยใู่ นวิถีชวี ิตของเขา คำ� ว่า “พลเมือง” จงึ หมายถึงบคุ คที่
ประกอบขึน้ มาเป็นสาธารณชน กอ่ รูปความสมั พนั ธ์ข้ึนเป็นระดับสาธารณะ ซง่ึ ก็หาได้มีความท่ีสุดโต่งจน
ปฏิเสธการเมอื งแบบดั้งเดิมหรอื ระบบตัวแทนไปเสียทีเดยี ว โดยมเี กณฑพ์ ิจารณาความเปน็ การเมอื งภาค
พลเมอื งได้ 5 ประการคอื (Matthew, 1999 อา้ งใน ณรงค์ บุญสวยขวัญ: 11–12, เรอ่ื งเดยี วกนั )

       1)	 หลักแห่งการตอบสนอง (Responsibility) คอื กระบวนการพิจารณาปญั หาของตน โดยจะ
เรม่ิ จดั การแก้ไขปญั หาเพื่อตอบสนองความต้องการของตวั เอง

       2)	 หลักแห่งความสามารถ (Capacity) การทพ่ี ลเมอื งเรม่ิ มคี วามตระหนกั ในความเปน็ ชมุ ชนและ
ดงึ เอาพลงั ในชุมชนมาจดั การสรา้ งระบบในการบรกิ ารชมุ ชนโดยองค์กรชุมชนเอง

       3)	 หลักแห่งอ�ำนาจ (Power) คอื การใชอ้ ำ� นาจของพลเมอื งทตี่ วั พลเมอื งเปน็ ผรู้ เิ รม่ิ เปน็ ผใู้ หแ้ ละ
สรา้ งวาทกรรมนน้ั ดว้ ยตนเอง มกี ารกำ� หนดนยิ ามความหมายตา่ งๆ ดว้ ยตนเอง มใิ ชอ่ ำ� นาจทม่ี าจากแหลง่
อ�ำนาจอื่นๆ

       4)	 หลักแห่งความสัมพันธ์ (Relationships) คือ การแสดงความสัมพันธ์เชิงอ�ำนาจผ่าน
กระบวนการแกป้ ญั หาทดี่ งึ ทกุ ฝา่ ยเขา้ มาเกย่ี วขอ้ งสมั พนั ธน์ ำ� ไปสกู่ ารเปลยี่ นกบั ภาคสว่ นอน่ื ๆ เชน่ ราชการ
ธรุ กจิ และพลเมอื ง

       5)	 หลักแห่งเจตจ�ำนงและประโยชน์ทางการเมือง (Political Will and Interest) คือ การที่
ทรพั ยากรชุมชนเปน็ เจตจ�ำนงของสาธารณะเป็นประโยชนท์ ีช่ ุมชนผูกพัน ซ่งึ จะตอ้ งสรา้ งเจตจำ� นงร่วมกัน
ในการใช้ประโยชนด์ ว้ ยความสมัครใจ มีแรงจูงใจและเกิดประโยชนต์ อ่ พลเมอื ง

       6)	 หลักแห่งการกระท�ำและลงมือปฏิบัติ (Action) เม่ือสามารถสร้างเจตจ�ำนงทางการเมือง
สาธารณะรว่ มกันแล้วจะต้องสร้างความร่วมมอื และรับผดิ ชอบรว่ มกัน

       ขณะทป่ี ระเวศ วะสี ราษฎรอาวโุ ส ใหค้ วามหมายวา่ หมายถงึ การทพ่ี ลเมอื งสามารถเขา้ มามสี ว่ น
รว่ มในการกำ� หนดนโยบายสาธารณะ วางแผน กระทง่ั ขบั เคลอื่ นการพฒั นาและตรวจสอบถว่ งดลุ อำ� นาจได้

       เสกสรรค์ ประเสริฐกุล (2553) นิยามหมายถงึ การเคล่ือนไหวอย่างมีจิตสำ� นกึ ของประชาชนเพ่อื
ลดการครอบง�ำของรัฐหรอื โอนอำ� นาจ ผอ่ งถา่ ยอำ� นาจบางสว่ นมาสภู่ าคประชาชนเพื่อดูแลตนเองโดยตรง

       ธรี ยทุ ธ บุญมี (2546) พยายามรวบรวมคำ� อธบิ าย “การเมือง” ในหลายช่อื และหลายแงม่ ุม ทีม่ ี
แงม่ ุมเหล่อื มซ้อนกันอยู่ดังน้ี

       1)	 การเมืองภาคปริมณฑลสาธารณะ (Public sphere) หมายถึงการมุ่งสร้างพ้ืนท่ีกลาง พ้ืนท่ี
สาธารณะ เวทีส่วนกลางที่ไม่ใช้พ้ืนท่ีการเมืองแบบทางการ เช่น รัฐสภา สามารถถกเถียงสร้างประเด็น
ตา่ งๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อสงั คม
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38