Page 32 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 32

6-22 ความรู้เบื้องตน้ การส่ือสารชุมชน
กิจกรรม 6.1.3 	

       จงอธิบายความสมั พนั ธข์ อง “การเมอื ง” กับ “ชุมชน”
แนวตอบกิจกรรม 6.1.3 	

       ในปัจจุบัน ชุมชนกลับได้รับการให้ความส�ำคัญอีกครั้ง เพราะมองว่าชุมชนเป็นท่ีรวมตัวกันเป็น
สถาบัน เปน็ เรื่องสทิ ธขิ องผคู้ นทีจ่ ะรวมตัว และท่สี ำ� คัญคือ มคี วามสำ� คัญต่อการพัฒนาสงั คม หากชมุ ชน
พัฒนาก็จะกลายเป็นแรงผลักดันการเคลื่อนไหวระดบั มหภาค

เร่ืองที่ 6.1.4	
พัฒนาการทางการเมืองจากชนชั้นน�ำสู่ภาคประชาชน

       พฒั นาการของการเปลย่ี น “อำ� นาจ” ทเ่ี คลอื่ นยา้ ยจากชนชนั้ นำ� มาสภู่ าคประชาชน ทจ่ี ะชว่ ยสรา้ ง
ความเขา้ ใจพน้ื ฐานในเรอ่ื งนก้ี ค็ อื การทำ� ความเขา้ ใจผา่ นแนวคดิ “พหุนิยมแบบอังกฤษ” (English Plural-
ist State Theory) ที่ได้กล่าวมาก่อนหน้านี้เสียก่อน โดยแนวคิดน้ีเริ่มแพร่หลายมาตั้งแต่ช่วงปลายของ
ศตวรรษ 19 สปู่ ลายศตวรรษท่ี 20 ผ่านงานของ ฮาร์โรล ลาสกี้ (Horold Laski) และ จี ดี เอช โคล
(G.D.H. Cole) ทอ่ี ธบิ ายสงั คมองั กฤษทม่ี องผคู้ นออกเปน็ พวกอนรุ กั ษน์ ยิ มสดุ ขวั้ (conservative radical)
ทดี่ า้ นหนง่ึ มคี วามเปน็ สดุ ขวั้ (radical) หรอื เปน็ สงั คมนยิ ม (Socialist) ทป่ี ฏเิ สธแนวคดิ ทนุ นยิ มและความ
เป็นปัจเจก ท่ีเป็นรากฐานส�ำคัญของเศรษฐกิจ สังคม สมัยใหม่ แต่ในอีกด้านหน่ึงผู้คนกลุ่มน้ีก็เป็นพวก
อนรุ ักษน์ ิยม ท่พี ยายามจะเลอื กสรรขอ้ เดน่ ต่างๆ ในยุคกลางกลบั มาใช้ (ดู เอนก, 2556ก: 11)

       นักคิดอังกฤษเหล่าน้ีตั้งข้อวิจารณ์ส�ำคัญต่อการมีอยู่ของรัฐของคนกลุ่มนี้ก็คือว่า รัฐสมัยใหม่นั้น
ผูกขาดอ�ำนาจอธิปัตย์แล้วดึงเอาอ�ำนาจเข้าสู่ศูนย์กลาง ไม่มีการแบ่งสรรอ�ำนาจให้กับกลุ่มหรือชุมชุมชน
และสถาบันทางสงั คมอื่นๆ เช่น หวั เมอื งทเี่ ป็นอิสระ มหาวทิ ยาลยั สมาคมอาชพี วัด โบสถ์ แบบในสมัย
ยคุ กลาง รฐั สมยั ใหมไ่ ดเ้ ขา้ ไปแทรกแซงและมีบทบาทอยา่ งสงู ในกิจการดา้ นตา่ งๆ แทนชุมชน ครอบครวั
และชมุ ชนมากขน้ึ การแทรกแซงในระบบเศรษฐกจิ วฒั นธรรม การศกึ ษา จดั รฐั สวสั ดกิ าร ในแงน่ จ้ี งึ ทำ� ให้
มองวา่ รฐั สมยั ใหมก่ ลบั มคี วามเปน็ “เผดจ็ การ” มากขน้ึ เชน่ เพราะเขา้ ไปแยง่ ชงิ อำ� นาจจาก ครอบครวั ชมุ ชน
สังคม มากยิ่งขึ้น ด้วยเหตุนี้พวกพหุนิยมแบบอังกฤษ จึงต้องการลดขนาดและบทบาทของรัฐลง โดย
พยายามเสนอให้มีการรองรับสิทธิและความชอบธรรมต่อสังคม ชุมชนมากข้ึน (ดู เอนก, 2556ก:
อ้างแลว้ )
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37