Page 31 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 31

การสอ่ื สารชมุ ชนกบั การพฒั นาการเมอื งชมุ ชน 6-21
จงึ ท�ำให้การเมอื งนั้นวนเวียนอยอู่ ย่กู ับ “ระบอบเผด็จการลา้ หลงั และประชาธปิ ไตยท่ีขาดความชอบธรรม”
ขอ้ เสนอของการกา้ วขา้ มภาวะ “สองนคราฯ” คอื การแสวงหามาตรการใหช้ น้ั กลางไมเ่ พยี งเปน็ ฐานนโยบาย
ของรัฐบาล หากยังเป็นฐานเสียงของพรรคและนักการเมืองด้วย ในทางกลับกัน ต้องท�ำให้ผู้ใช้แรงงาน
ในชนบทไม่เป็นเพียงฐานเสียง หากยงั เป็นฐานนโยบายไดเ้ ชน่ กนั

       ค�ำอธิบายของแนวคิดนี้ท่ีชี้ให้เห็นความส�ำคัญของชุมชนท้องถ่ินต่อการเมืองก็คือ การสร้างคน
ชนบทให้เปน็ ฐานนโยบาย ดว้ ยการวคิ ราะหว์ า่ ชาวชนบทตกอยภู่ ายใตเ้ ครอื ขา่ ยสายสมั พนั ธร์ ะบบอปุ ถมั ภ์
อนั มรี ากฐานมาจากสงั คมเกษตรแบบดง้ั เดมิ ชาวชนบทจงึ มกั ลงคะแนนตามคำ� ชนี้ ำ� ของผอู้ ปุ ถมั ภแ์ ละตาม
สนิ จา้ งรางวลั อยา่ งเหน็ ไดช้ ดั นบั ตง้ั แตป่ ี 2523 เพอื่ ใหร้ ะบบอปุ ถมั ภแ์ ละการรบั สนิ จา้ งรางวลั ลดความสำ� คญั
ลง การแกไ้ ขปญั หาจงึ ตอ้ งเสาะหาหนทางทางการเมอื งใหค้ นชนบทเปน็ “ฐานนโยบาย” คอื มโี อกาสไดร้ บั
การตอบสนองเชงิ นโยบายจากรัฐบาลมากขนึ้ โดยการมมี าตรการตา่ งๆ เช่น

       การพฒั นาให้ชาวนาชาวไร่ใช้สทิ ธิตดั สนิ ใจผา่ นประชาธิปไตยทางตรง (direct democracy) ใน
ประเด็นที่ส่งผลกระทบต่อสาธารณประโยชน์โดยตรง เช่น การริเร่ิมเสนอกฎหมาย การลงประชามติ รับ
หรือไม่รับกฎหมาย (referendum) เพื่อให้เกิดความเข้าใจต่อหลักการและนโยบาย รวมถึงตระหนักใน
ความส�ำคัญถึงว่าการลงคะแนนเสียงเป็นเรื่องความรับผิดชอบต่อส่วนรวม นอกจากนี้ยังต้องร่วมกัน
สนับสนุนชุมชนทางการเมือง (political community) ท่ีใกลช้ ดิ กับวิถชี วี ิตของชาวชนบท แต่สร้างความ
เข้มแข็งในระบอบประชาธิปไตยและผลักดันให้มีการช่วยเหลือตนเอง เช่น กลุ่มช่วยแรงงาน กลุ่มเหมือง
ฝาย กลุ่มอุบาสกอบุ าสิกา กลุ่มสหกรณ์ กลมุ่ ฝึกอาชพี กล่มุ สตรี กล่มุ เยาวชน รวมถงึ การสรา้ งระบบและ
กลไกของการปกครองทอ้ งถิน่ เพ่อื กระจายอำ� นาจสภู่ มู ิภาคเพอื่ ลดภาวะของ “รฐั รวมศูนย์”

       ใจความส�ำคัญของแนวคิด สองนคราประชาธิปไตย คือพัฒนาภาคประชาชนในระดับชุมชนเพ่ือ
ใหห้ นไี ปใหพ้ น้ จากการเมอื งของระบบอปุ ถมั ภ์ รวมถงึ ความลดความเหลอ่ื มลำ้� ระหวา่ งภาคเมอื งกบั ชนบท
ถงึ กระน้ันก็ตามประภาส ป่นิ ตกแต่ง นักรฐั ศาสตร์ ที่สนใจการเมอื งภาคประชาชน วิจารณว์ า่ ทฤษฎีสอง
นคราประชาธปิ ไตยตอกยำ�้ คำ� อธบิ ายทดี่ ำ� รงอยกู่ อ่ นหนา้ โดยปราศจากขอ้ มลู เชงิ ประจกั ษท์ หี่ นกั แนน่ เพยี ง
พอ เพราะหลายทศวรรษ พลวัตการเปล่ียนแปลงของชนบทได้พลิกโฉมไปอย่างมาก การรวมกลุ่มเพื่อสู้
ของภาคประชาชนก็มใี หเ้ หน็ มีการต่อสู้ท่ียกระดับขน้ึ และสะทอ้ นความคิดและการปฏิบัติในภาคชนบท ท่ี
กล้าเสนอความเดอื ดรอ้ นของตนเข้าส่สู าธารณะมากขึ้น รวมถึงไดเ้ ช่ือมร้อยการเคลือ่ นเข้าผคู้ นหลายกลมุ่
เชน่ นกั การเมอื ง หวั คะแนน เอน็ จโี อ ทำ� ใหข้ บวนการเคลอ่ื นไหวขยายปรมิ ณฑลการตอ่ สอู้ อกไป ตวั อยา่ ง
เชน่ สมชั ชาคนจน ทเ่ี ปน็ การเคลอ่ื นไหวของผคู้ นทไี่ ดร้ บั ผลกระทบจากโครงการพฒั นาขนาดใหญท่ ม่ี าจาก
สว่ นกลางและสง่ กระทบตอ่ สทิ ธขิ องชมุ ชน เชน่ สรา้ งเขอื่ น เหมอื งแร่ นคิ มอตุ สาหกรรม การสนบั สนนุ การ
ปลูกพืชเศรษฐกจิ และการแบง่ แย่งทรัพยากรในชนบท จนกิดการรวมตวั กันระดบั หมู่บ้าน ตำ� บล อำ� เภอ
จนกระทงั่ กลายเป็นเครอื ข่ายใหญร่ ะดบั ประเทศ (ดู ฐิตกิ ร สังข์แกว้ และอรรถสทิ ธิ์ พานแก้ว, 2549)
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36