Page 30 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 30
6-20 ความรูเ้ บ้ืองต้นการสอ่ื สารชุมชน
ข้อวิจารณ์เช่นน้ีสามารถท�ำความเข้าใจได้ผ่านแนวความคิดของ ฟิกกิส ลาสกี และเมทแลนด์
(Figgis, Laski, and Maitland) ที่นิยามตัวเองว่าเป็นกลุ่ม “พหุนิยม” มองว่ารัฐแบบสมัยใหม่มีข้อ
บกพร่องอย่ทู ่ี การผกู ขาดอำ� นาจสาธารณะไวท้ ร่ี ฐั เทา่ นนั้ การท่ีรฐั มาผกู ขาดอ�ำนาจสาธารณรฐั ไวแ้ ตเ่ พียง
ผู้เดียวส่งผลใหก้ ารเมืองสมัยใหม่ไม่มีความเป็นประชาธิปไตย แม้จะมีอ�ำนาจความเป็นตัวแทนท่ีผ่านการ
เลือกตั้งแต่ก็ไปละเมิดอ�ำนาจของสังคมย่อย (Partial society) ที่เคยมีอิสระในตัวเองมาต้ังแต่ยุคกลาง
และเรอเนเซองส์
สงั คมยอ่ ยในทน่ี ม้ี คี วามหมายถงึ สมาคมวชิ าชพี สมาคมนายชา่ ง สมาคมแพทยสภา มหาวทิ ยาลยั
สงั คมยอ่ ย (Partial society) ทเ่ี ปน็ สว่ นหนงึ่ ของสงั คมใหญ่ นก้ี อ่ นเขา้ สยู่ คุ สมยั ใหม่ ยงั ไมม่ เี รอ่ื งของปจั เจก
เขา้ มาเกย่ี วขอ้ ง สงั คมยอ่ ย มอี ำ� นาจและเอกสทิ ธท์ิ ชี่ ดั เจนในการจดั การตวั เอง เชน่ พระ หรอื มหาวทิ ยาลยั
เปน็ ตน้ รฐั บาลจะเขา้ มายงุ่ เกยี่ วไมไ่ ด้ ขอ้ เสนอเชน่ นจ้ี งึ อยทู่ กี่ ารเคารพเอกสทิ ธแ์ิ ละความเปน็ อสิ ระของกลมุ่
ในสงั คม ซง่ึ นา่ จะปรบั ใชก้ นั ไดก้ บั เรอื่ งเกย่ี วกบั ชมุ ชนและสทิ ธชิ มุ ชน (เอนก, 2554: 25 – 27, เรอื่ งเดยี วกนั )
อย่างไรก็ตามข้อเสนอของเอนกพยายามที่จะชี้ว่า การถ่ายโอนอ�ำนาจท่ีเคยรวมศูนย์หลายอย่าง
ควรถกู ผอ่ นถา่ ยมาสทู่ อ้ งถนิ่ ใหม้ ากขน้ึ ใหท้ อ้ งถน่ิ สามารถทจ่ี ะมี “อำ� นาจ” ในการทจ่ี ะบรหิ ารจดั การตนเอง
โดยการสร้างประชาธปิ ไตยแบบทอ้ งถ่นิ มสี ำ� นึกของท้องถิ่นทีม่ คี วามเป็นเจา้ ของ มีความรกั ความผูกพนั
ท้งั น้ีท้องถ่ินไม่ควรทจี่ ะลอกเลยี นโครงสรา้ งแบบสว่ นกลาง ทั้งในระบบการเมือง เศรษฐกิจ วฒั นธรรม ท่ี
ยอ่ สว่ นลงมาแตจ่ ะตอ้ งมคี วามเปน็ เอกลกั ษณแ์ ละใชต้ น้ ทนุ ทม่ี อี ยอู่ ยา่ งคมุ้ คา่ (เอนก, 2554: 34 – 35, เรอ่ื ง
เดียวกนั )
ชุมชน ท้องถ่ินและการเมือง
“ชมุ ชน” และ “ทอ้ งถน่ิ ” สำ� คญั อยา่ งไรกบั การเมอื ง ในหนงั สอื เรอื่ ง สองนคราประชาธปิ ไตย ของ
เอนก เหลา่ ธรรมทศั น์ (2556ข) ไดว้ เิ คราะหไ์ วต้ ง้ั แตป่ ี 2537 ซงึ่ เปน็ หว้ งเวลา หวั เลยี้ วหวั ตอ่ ทางการเมอื ง
ที่ส�ำคัญของสังคมก่อนช่วงการปฏิรูปการเมือง 2540 โดยนักรัฐศาสตร์ผู้น้ีบอกว่า สิ่งส�ำคัญที่สุดท่ีท�ำให้
ประชาธปิ ไตยไทยไมล่ งตวั นนั้ เปน็ เพราะทกุ วนั นี้ ชนชน้ั กลางและชาวนาชาวไรม่ องประชาธปิ ไตยไมเ่ หมอื นกนั
จนเกดิ เปน็ ความขดั แยง้ และไมย่ อมรบั กนั จนนำ� ไปสเู่ ผดจ็ การทลี่ า้ หลงั กบั ประชาธปิ ไตยทข่ี าดความชอบธรรม
แนวคิด “สองนคราประชาธิปไตย” ได้ฉายภาพให้เห็นท้ังปัญหาของวัฒนธรรมการเมืองแบบ
อุปถมั ภแ์ ละวฒั นธรรมการเมืองแบบกึ่งประชาธปิ ไตยในสังคมไทย โดยเฉพาะการวเิ คราะห์ “คุณค่า” ใน
ฐานะของ “ฐาน” ในการท�ำความเข้าใจสังคมการเมืองและเป็นฐานที่จะสร้าง “ความเท่าเทียม” ให้กับ
ประชาชนไทย ผ่านการ “ปฏิรูปการเมือง เศรษฐกจิ ” โดยช้ีใหเ้ หน็ ความเหลอื่ มลำ้� และลกั ษณะของสงั คม
การเมอื งระหวา่ ง “ชนชนั้ กลาง” กับผ้คู นจาก “ชนบท” ทีส่ ุดท้ายน�ำไปสกู่ ารแบง่ แยกประชาชนออกเปน็
สองสว่ นรวมถึงยงั ไม่แสวงหาวิธกี ารทีจ่ ะท�ำใหป้ ระชาชนท้ังสองสว่ นมาร่วมพฒั นาประชาธิปไตย
แนวคิดทีเ่ อนกเสนอนี้ กล่าวได้ว่า คนชนบทเป็นผู้ “ตงั้ ” รัฐบาล เพราะเปน็ “ฐานเสยี ง” สว่ น
ใหญ่ของพรรคการเมือง ขณะที่คนช้ันกลางเมืองเป็นผู้ “ล้ม” รัฐบาล เพราะเป็น “ฐานนโยบาย” ของ
รฐั บาล ผา่ นการวพิ ากษว์ จิ ารณผ์ า่ นสอื่ มวลชน สำ� นกึ ของความเขา้ ใจเรอื่ งประชาธปิ ไตยทมี่ คี วามแตกตา่ งกนั