Page 29 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 29
การสื่อสารชมุ ชนกับการพัฒนาการเมอื งชุมชน 6-19
จากการสำ� รวจทฤษฎกี ารเมอื งเพอื่ สรา้ งทอ้ งถน่ิ เปน็ ฐานใหมข่ อง เอนก เหลา่ ธรรมทศั น์ ในหนงั สอื
“อภวิ ฒั นท์ อ้ งถน่ิ ” (2554) กลา่ วถงึ การรอ้ื ฟน้ื แนวคดิ ซงึ่ เปน็ หวั ใจของประชาธปิ ไตยแบบตะวนั ตกโบราณ
(อนั หมายถงึ กรกี และโรมนั ) ทก่ี ลา่ วถงึ การทปี่ ระชาชนไดป้ กครองตนเองหรอื Self Government ทเ่ี นน้ ยำ�้
ปรัชญาแบบกรกี โบราณวา่ ความดีงามท่ีส�ำคัญที่สดุ คอื การมปี ระชาชนเป็นผู้ปกครอง ทปี่ ระชาชนสามารถ
จะท�ำหน้าท่ีในฐานะของผู้ปกครองและผู้ถูกปกครองที่ดีได้ท้ังสองบทบาท กระทั่งศตวรรษที่ 18–19 เร่ิม
เกดิ ระบบประชาธิปไตยแบบตวั แทนผา่ นผแู้ ทนราษฎรหรอื Representative government
โดยนกั คดิ สำ� คญั ๆ ในยุคประชาธิปไตยสมัยใหม่แบบประชาชนปกครองตัวเองหลายทา่ น ไดใ้ ห้
ขอ้ สังเกตต่อการเมอื งกระแสหลกั ไวแ้ ตกต่างกนั อย่างน่าสนใจดงั นคี้ ือ
ซาปาต้า (Zapata) นักปฏิวัติชาวเม็กซิกัน กล่าวว่า ไม่ได้ต้องการผู้น�ำที่เก่ง ถ้าได้ผู้น�ำที่เก่ง
ผ้ตู ามกจ็ ะไมเ่ กง่ จงึ อยา่ ได้หวงั พึง่ ผนู้ ำ�
รุสโซ (Rousseau) กลา่ วถงึ ประชาธิปไตยว่า ต้องปกครองตนเอง ถ้าเอาคนอืน่ มาปกครองยอ่ ม
ไม่ใช่ประชาธิปไตย ผู้นำ� และผ้แู ทนท�ำชหนา้ ทเ่ี ปน็ เพยี งผชู้ ่วยของประชาชนเทา่ นั้น
มองเตสกิเออ (Montesquieu) เชอื่ คล้ายๆ กบั รุสโซวา่ ประชาธิปไตยคอื การเมืองการปกครอง
ขนาดเลก็ และสนใจการปกครองระดบั ชมุ ชน หากตอ้ งการเปน็ รฐั ขนาดใหญค่ วรเปน็ สหพนั ธรฐั อยา่ เปน็ รฐั
เดย่ี ว บทบาทของบ้านเมืองจึงอยทู่ ่ที อ้ งถน่ิ เปน็ พน้ื ฐาน
เดอ ต๊อกเกอวิลล์ (De Tocqueville) เสนอว่า ประชาธิปไตยของสหรัฐอเมริกาอยู่ได้เพราะ
ชาวอเมริกันมีส�ำนึกของการพึ่งพาตัวเองและเป็นตัวของตัวเอง กล้าคิดกล้าท�ำและมีความหยิ่งผยองของ
การเปน็ ชนชั้นลา่ ง ซึ่งไมย่ อมรบั ระบบอปุ ถัมภ์
เดวิด แม็ทธิวส์ (David Mathews) ผ้รู ้ือฟืน้ แนวคิดของ เดอ ต๊อกเกอวลิ ลน์ ำ� มาใช้และส่งเสรมิ
ใหม้ กี ารปรบั ปรงุ ระบบเทศบาลของสหรัฐอเมริกาให้เป็นการปกครองตนเองของประชาชนใหม้ ากข้ึน
มาเรียน ยัง (Marion Young) ผู้ให้ก�ำเนิดแนวคิดเรื่อง “ประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือ”
(Deliberative democracy) ทพี่ ยายามใหค้ วามหมายวา่ ประชาธปิ ไตยจรงิ ๆ คณุ ภาพอยทู่ กี่ ารพดู คยุ กนั
การถกเถยี งอยา่ งเอาใจเขามาใสใ่ จเรา เอาขอ้ ดขี องการถกเถยี งมาและยอมรบั เปน็ เรอ่ื งของการมสี ว่ นรว่ ม
ท่สี ร้างสรรค์ผลผลิตทางความคิดร่วมกัน
เปอทิส (Petits) เป็นผู้พยายามนิยามว่าภาคประชาชนและท้องถิ่น มีบทบาทและมีส่วนร่วม
มีความสามารถท่ีจะท�ำสิ่งต่างๆ ด้วยตนเอง แต่พึ่งพารัฐบาล พ่ึงทางการให้น้อย โดยถือว่าเป็นเสรีภาพ
อยา่ งหนงึ่ คอื บทบาทของผคู้ นสามญั ทจี่ ะตอ้ งเขา้ ไปทำ� งานใหส้ ว่ น โดยมสี ำ� นกึ วา่ เรอ่ื งสว่ นรวมกเ็ สมอื นกบั
เร่อื งของตวั เอง
แนวคิดที่ยกตัวอย่างขึ้นมานี้มีลักษณะร่วมท่ีส�ำคัญก็คือ มีลักษณะของการมองที่วิพากษ์วิจารณ์
ต่อการปกครองแบบตัวแทน (Representative government) ขณะเดียวกันก็ให้ความส�ำคัญของการ
ปกครองตนเอง (Self government) ทีเ่ ปน็ การจัดการตนเองในระดบั ท้องถน่ิ ข้อเสนอของ เอนก (2554,
เรอื่ งเดยี วกนั ) ก็คือท้องถ่ินควรถกู ท�ำใหเ้ ปน็ ประชาธปิ ไตย Self government democracy ท่ที �ำใหผ้ ้คู น
ในท้องถิ่นมีส�ำนึกของการอาสาเข้ามาพัฒนาท้องถ่ินด้วยตัวของคนท้องถ่ินเอง ด้วยการพัฒนาและเสริม
สร้างพลงั ความเขม้ แข็ง (Empower) ใหก้ บั ผ้คู นระดบั ลา่ งใหผ้ า่ นทฤษฎเี หล่าน้ี