Page 24 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 24

6-14 ความร้เู บอ้ื งตน้ การส่อื สารชุมชน
เพื่อเปล่ียนแปลงสังคมให้ดีขึ้นโดยมุ่งเสริมพลัง (Empower) แก่ผู้ยากไร้ ที่ถูกเอารัดเอาเปรียบภายใต้
ระบบเศรษฐกจิ ทนุ นิยมอีกดว้ ย

       แนวคดิ เรอื่ ง “อ�ำนาจ” ของสำ� นักแฟรงคเ์ ฟิรต์ จงึ มีจดุ ยืนอยา่ งแนบแน่นกบั ทฤษฎีมาร์กซิสต์ว่า
ระบบเศรษฐกิจคือปัจจัยก�ำหนดชีวิตกิจกรรมทางสังคม ปญั หาตา่ งๆ นน้ั มรี ากเหงา้ มาจากการใชเ้ หตผุ ล
และความขัดแยง้ ในระบบเศรษฐกจิ ทนุ นิยม (ดู Max Horkheimer 1972 ใน รัตนา โตสกุล, 2548: 48)
อยา่ งไรกต็ ามแมส้ ำ� นกั นจ้ี ะใหค้ วามสำ� คญั ตอ่ โครงสรา้ งสว่ นบน (Super structure) แตก่ ระนนั้ มคี วามแตกตา่ ง
จาก ฟูโกต์และกรมั ช่ี ท่ไี ดก้ ลา่ วมาก่อนหน้านโ้ี ดยมีขอ้ สงั เกตต่ออำ� นาจในแงล่ บ รวมถึงมุมมองต่อระบบ
การส่ือสารมวลชนว่าคือ “ด้านมืด” อีกด้วย ข้อเสนอเร่ือง “อุตสาหกรรมวัฒนธรรม” (Culture
Industry) หรือการท�ำให้วัฒนธรรมกลายเป็นสินค้า (Commodification) อันเป็นผลมาจากการผลิต
แบบมวลชน (mass product) ในคราวละมากๆ จะทำ� ใหม้ ูลค่าการผลติ ทม่ี รี าคาถกู ลง ซง่ึ ถูกอดอรโ์ นและ
ฮอกไคเมอร์ วจิ ารณว์ า่ ท�ำให้คุณคา่ ทางปัญญาและสนุ ทรียะ ตกตำ่� ลงไปด้วย จึงพาใหผ้ ู้คนทั่วไปยงั ตกอยู่
ภายใตว้ งั วนที่ถกู ครอบง�ำวัฒนธรรมเชน่ นดี้ ว้ ย

       เงอ่ื นไขของการมองภาพทางสังคมเชน่ นน้ั มาจากบริบททางสังคมรอบตัวของนกั วชิ าการท้งั สอง
ท่ีเสนอ คือ บรรยากาศการผงาดขึ้นของอิทธิพลนาซีและพรรคชาตินิยม จนท�ำให้ชาวเยอรมันท่ีภูมิใจ
รากฐานปรัชญาแบบเหตุผลนิยม แต่ถูกกลับครอบง�ำโดยเฉพาะกลุ่มชนช้ันล่างท่ีช่วงชิงมวลชนไปได้
มากกวา่ พรรคสงั คมนิยมประชาธปิ ไตยเสียอีก ค�ำตอบของ อดอร์โนและฮอกไฮเมอร์ ก็คือ “อตุ สาหกรรม
วัฒนธรรม” น่ีแหละที่เป็นเครื่องมือของผู้ปกครองในการครอบง�ำประชาชนเป็นมาตรฐานเดียวกัน ไม่ตั้ง
คำ� ถามหรอื ไดต้ ระหนกั ตอ่ อำ� นาจครอบงำ� นน้ั ทศั นะตอ่ การเกดิ ขนึ้ ของอตุ สาหกรรมวฒั นธรรมใน ไดพ้ ราก
เอา “วฒั นธรรม” ออกมาเสียจาก “สนุ ทรียะ” ทเี่ ป็นคุณค่าของงานศิลปะออกไปอยา่ งสนิ้ เชิง ข้อสงั เกต
อนั ชวนถกเถียงก็คือ ทั้งสองเห็นวา่ “วฒั นธรรมประชานิยม” (popular culture) แทนทจ่ี ะเปน็ พลงั และ
เวทขี องการตอ่ สู้ ตอ่ รอง ตอ่ ระบบทนุ นยิ มแตก่ ลบั มาชว่ ยผลติ ซำ้�  ตอกยำ�้ และใหค้ วามชอบธรรมแกร่ ะบบทนุ
เสยี เอง

       ความสนกุ เพลดิ เพลนิ เคลบิ เคลมิ้ กบั ระบบอตุ สาหกรรม วฒั นธรรมและความบนั เทงิ นน้ั ครอบงำ�
ใหผ้ คู้ นเลกิ ตงั้ คำ� ถามกบั ระบบและนำ� พามาสวู่ ถิ ชี วี ติ แบบเดยี วกนั เทา่ นน้ั ในระบบทนุ นยิ ม เชน่ ระบบแฟชนั่
โดยเมอ่ื มองผา่ นทฤษฎกี ารปฏบิ ตั ิ พลงั ของการปฏวิ ตั ขิ องมวลชนจงึ ขาดพลงั ขาดจติ ส�ำนกึ ในการวพิ ากษ์
สังคม จากการถูกครอบง�ำน้นั (ดู Adornor and Hockheimer 1995 ในรตั นา โตสกลุ , 2548: 50) แต่
สำ� หรบั เจอรเ์ กน็ ฮารเ์ บอรม์ าส (Jurgen Harbermas) สมาชกิ รนุ่ ท่ี 3 ของสำ� นกั แมจ้ ะมคี วามเหน็ ทส่ี อดรบั
กบั อดอรโ์ นและฮอกไคเมอร์ วา่ รฐั ตกอยใู่ ตพ้ ลงั ของระบบตลาด มวลชนตกอยภู่ ายอำ� นาจรฐั และระบบตลาด
จนแทบปราศจากอำ� นาจทต่ี อ่ ตา้ น สอื่ มวลชนสมยั ใหม่ โครงสรา้ งอำ� นาจรฐั และศาสนา ครอบงำ� ชวี ติ มวลชน
มากขึ้นท้ังในระดับส่วนตัวและสาธารณะ (Private public life) ครอบคลุมไปถึงระบบค่านิยม ศิลปะ
การศึกษา ศาสนาและครอบครัว ท่ีเรียกว่า Life World จนกลายมาเป็นความเข้าใจร่วมกันในทาง
วฒั นธรรม อนั เปน็ ผลจากปฏบิ ตั กิ ารของการสอื่ สาร (Communicative Action) ปฏบิ ตั กิ ารอนั นหี้ มายถงึ
ศกั ยภาพของปจั เจกและกลมุ่ ทางสงั คมสามารถใชก้ ารสอื่ สาร แสดงเหตแุ ละอภปิ ราย แลกเปลยี่ น ถกเถยี ง
อยา่ งมคี ณุ ภาพเพอ่ื สรา้ งความเขา้ ใจรว่ มกนั เรอ่ื ง ความหมาย คณุ คา่ และคา่ นยิ มในการดำ� เนนิ ชวี ติ จนเกดิ
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29