Page 19 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 19
การสอ่ื สารชุมชนกับการพฒั นาการเมืองชุมชน 6-9
เรื่องที่ 6.1.2
ความหมายของ “อ�ำนาจ” ในทางการเมือง
การเปลย่ี นแปลงทส่ี ำ� คญั ทางกระบวนทศั นข์ องการศกึ ษาอำ� นาจพบวา่ มกี ารเปลยี่ นแปลงกระบวน
ทศั น์ (Paradigm shift) ของการเปลย่ี นแปลงหนว่ ยของการศกึ ษาจาก “โครงสรา้ งสงั คม” มาสกู่ ารศกึ ษา
“มนุษย์” ในฐานะท่ีเป็น “ผูก้ ระท�ำการ” (Structure vs. Agency) ท่ีเนน้ การศกึ ษาระบบโครงสร้างทาง
สังคม มาสกู่ ารศึกษาบทบาทของปจั จเจกชน เป็นสำ� คัญ
แอนโทนี กิด๊ เดนส์ (Anthony Giddens) นักสงั คมวิทยาชาวองั กฤษ เน้นเปน็ อยา่ งมากในเร่อื ง
Human Agency ที่เชื่อมั่นในศักยภาพของมนุษย์ที่จะสามารถมีศักยภาพในการคิดตัดสินใจและกระท�ำ
การเพ่ือให้บรรลุเป้าหมาย “อ�ำนาจ” ในความหมายของก๊ิดเดนส์จึงหมายถึง พลังความสามารถ หรือ
ศักยภาพของตัวแทนอ�ำนาจในการกระท�ำให้บรรลุผลที่ตัง้ ใจไว้ อ�ำนาจมที ง้ั ท่ใี ชก้ ำ� ลงั บบี บังคับและอ�ำนาจ
อนั ชอบธรรม คอื การไดร้ บั การความยนิ ยอมพรอ้ มใจจากผทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ งทจี่ ะกระทำ� การใหบ้ รรลผุ ลทวี่ างเอาไว้
ในที่นจี้ ะเริ่มพิจารณาความหมายของอ�ำนาจใน 4 ประเดน็ ได้แก่
1) อำ� นาจคอื พลงั / ความสามารถของการกระท�ำการ
2) อ�ำนาจคอื สิทธใิ นการกระทำ� การ
3) อำ� นาจเปน็ ความสัมพันธท์ างสังคม
4) อำ� นาจเป็นวาทกรรมของความรู้ ความจรงิ ทีม่ ปี ฏบิ ตั ิการ
ขณะเดยี วกนั กจ็ ะอธบิ ายครอบคลมุ ไปถงึ การศกึ ษาการเปลย่ี นแปลงของสงั คมไทยทสี่ ว่ นใหญม่ อง
ว่า “อ�ำนาจ” มีลักษณะท่ีมาจากสถาบันหลัก มากกว่าจากการเคล่ือนไหวของภาคประชาสังคม (Civil
Society) ในพ้ืนท่ีสาธารณะ ซึ่งน�ำมาสู่แนวทางในการมองประเด็นทาง “การเมือง” ที่หมายถึงจัดสรร
ทรพั ยากรดว้ ยด้วยจดุ ยืนทาง “อ�ำนาจ” ท่ีมคี วามแตกต่างกนั ไปด้วย
นิยามที่ 1 อ�ำนาจคือพลัง/ความสามารถในการกระท�ำการ
แอนโทนี กด๊ิ เดนส์ (Anthony Giddens) นกั สงั คมวทิ ยาชาวอังกฤษ กล่าวถงึ ความหมายของ
อ�ำนาจว่า หมายถึง ศักยภาพในการตัดสินใจและการกระท�ำเพ่ือบรรลุเป้าหมายท่ีตั้งเอาไว้และจุดยืนทาง
ความคดิ ทเ่ี ชอ่ื ในศยั ภาพของความเปน็ มนษุ ยท์ สี่ ามารถจะสรา้ งความเปลยี่ นแปลงได้ กด๊ิ เดนสจ์ งึ เสนอวา่
อ�ำนาจนั้นคือ ศักยภาพหรือพลังท่ีมนุษย์ครอบครองและส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงดังที่ตนตั้งใจเอาไว้
(Giddens, 1982) ซ่ึงมีทั้งอ�ำนาจท่ีบีบบังคับและก่อให้เกิดความยินยอมพร้อมใจ ขณะที่ สตีเวน ลุ๊คส์
(Steven Lukes) อธบิ ายว่าอำ� นาจคอื “พลงั ” ทผ่ี ลกั ดนั ใหเ้ กิดผลบางประการ
แบร่ี ฮินเดส (Barry Hindess, 1996) อธิบายว่า อ�ำนาจมีนัยสะท้อนถึงความปรารถนาของ
ผู้มีอ�ำนาจมากกว่าท่ีจะครอบง�ำความปรารถนาผู้ท่ีมีอ�ำนาจน้อยกว่า ข้อเสนอของฮินเดสครอบคลุมไปถึง
รูปแบบความไม่เท่าเทียมกันของความสมั พันธ์ทางอำ� นาจ