Page 23 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 23

การสื่อสารชุมชนกับการพัฒนาการเมืองชมุ ชน 6-13
       1)	 “อ�ำนาจ” ตามทัศนะของส�ำนักแฟรงค์เฟิร์ต (Frankfurt School) ราวปี 1920 นกั วิชาการ
รนุ่ ใหมๆ่ ทม่ี รี ากฐานการศกึ ษาแนววพิ ากษ์ ทไ่ี ดร้ บั อทิ ธพิ ลทางความคดิ จากทฤษฎมี ารก์ ซสิ ต์ (Marxism)
ก่อต้ังสถาบันวิจัยสังคม ท่ีเมืองแฟรงค์เฟิร์ต เยอรมนี เพ่ือศึกษาสังคมและการเปล่ียนแปลงท่ีเรียกว่า
Institute for social research ทก่ี อ่ ตงั้ โดย คารล์ กรนุ เบริ ก์ (Carl Grunberg) ทเ่ี รม่ิ ตน้ ใชแ้ นวคดิ มารก์ ซสิ ต์
เปน็ หลกั ในการทำ� วจิ ยั และเชอื่ มโยงไปสเู่ ครอื ขา่ ยมหาวทิ ยาลยั ตา่ งๆ ในประเทศเยอรมนี การศกึ ษาจงึ กวา้ งขวาง
ครอบคลุมการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงประจักษ์ ทางประวัติศาสตร์กับขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมที่แข็งขัน
ในยุโรปและลงสูร่ ะดับกรรมมาชีพในยุโรปอกี ด้วย
       หลงั การเกษยี ณของกรนุ เบริ ก์ ในปี 1930 แมก็ ฮอกไคเมอร์ (Max Horkheimer) รบั ชว่ งการเปน็
ผู้บริหารต่อและปรับปรุงการศึกษาแบบสหวิทยาการมาปรับใช้ ก่อนจะทาบทามนักคิด นักวิชาการเด่นๆ
อยา่ ง เลยี ว โลเวนทาล (Leo Lowenthal) เฟรดิช พอลลอ็ ก (Fredrich Pollock) เอรกิ ฟรอมม์ (Eric
Fromm) เฮนดริก กรอสมัน (Henryk Grossman) วอลเธอร์ เบนจามิน (Walter Benjamin) โดย
เฉพาะ เฮอร์เบริ ์ต มาคเุ ซอร์ (Herbert Macuse) และธีโอดอร์ อดอรโ์ น (Theodor Adornor) ได้กลาย
เป็นหัวหอกส�ำคัญในการพัฒนาส�ำนักคิดนี้ในเวลาต่อมา ทว่าเม่ือนาซียึดครองอ�ำนาจประเทศเยอรมนี
นกั วชิ าการสว่ นหนงึ่ ไดล้ ภี้ ยั ไปสสู่ หรฐั อเมรกิ า จนกระทงั่ สงครามสงบลงในปี 1950 ฮอกไคเมอรแ์ ละอดอรโ์ น
ไดก้ ลบั มารอ้ื ฟน้ื สถาบนั วจิ ยั สงั คมหรอื สำ� นกั แฟรงคเ์ ฟริ ต์ ขน้ึ มาใหม่ กระทง่ั ปี 1956 นกั วชิ าการหนมุ่ อยา่ ง
เจอร์เกน็ ฮาร์เบอร์มาส (Jurgen Harbermas) จึงได้เขา้ มารว่ มสมทบ (ดู กาญจนา แก้วเทพ และสมสุข
หินวิมาน, 2551: 344)
       อทิ ธพิ ลของทฤษฎวี พิ ากษน์ น้ั เนน้ ความสำ� คญั ของการชใ้ี หเ้ หน็ รากฐานความรทู้ างวทิ ยาศาสตรท์ ี่
มผี ลตอ่ การสรา้ งความรแู้ ละความจรงิ สำ� นกั นช้ี ว้ี า่ “องคค์ วามร”ู้ ทง้ั หลายไมม่ สี ถานะของความเปน็ กลาง
เพราะองค์ความรู้ท้ังหลาย คือ ผลผลิตของความสัมพันธ์ทางอ�ำนาจที่ไม่เท่าเทียมกันและการแบ่งแยก
ชนชน้ั ทางสังคม แนวทางการศึกษาของสำ� นักจึงใชม้ ุมมองทางทฤษฎีอันหลากหลายจากสาขาวิชาตา่ ง ๆ
เชน่ เศรษฐศาสตรก์ ารเมอื ง จติ วเิ คราะห์ จติ วทิ ยาสงั คม ทฤษฎวี ฒั นธรรม มานษุ ยวทิ ยา สงั คมวทิ ยาและ
ประวตั ศิ าสตร์ ท่คี รอบคลมุ การตคี วามมากกวา่ ตดิ อยูก่ บั สาขาวชิ าใดวชิ าหนึ่ง
       จากการลภี้ ยั หนกี ารคกุ คามจากนาซไี ปอยสู่ หรฐั อเมรกิ าในปี 1937 คำ� วา่ “ทฤษฎวี พิ ากษ”์ จงึ เรม่ิ
แพร่หลาย “วพิ ากษ”์ ตามความหมายของส�ำนักแฟรงคเ์ ฟริ ต์ หมายถึงการสร้างทฤษฎสี ังคมทีม่ ลี ักษณะ
ที่ปฏิเสธการผลิตซ้�ำ ความคดิ ความรู้ ทีน่ ำ� ไปส่กู ารค้ำ� จนุ โครงสรา้ งทางเศรษฐกิจ - การเมือง ในระบอบ
ทุนนิยมท้ังยังเป็นการน�ำความรู้ไปสู่การเปลี่ยนแปลงสังคม โดยยังคงยืนยันแนวทางวิภาษวิธีของมาร์กซ์
(Dialectic) และทฤษฎกี ารปฏิวตั ิ (Theory of revolution) เหตผุ ลท่สี �ำนักแฟรงค์เฟิร์ตเปน็ มารก์ ซิสต์
เหตุผลหน่ึงเห็นจะเป็นข้อเด่นของการวิพากษ์วิจารณ์เศรษฐกิจทุนนิยมได้อย่างลึกซ้ึง การมองเห็น
ปรากฏการณ์ที่มนุษย์ถูกครอบง�ำด้วยสินค้าและการแลกเปลี่ยนที่น�ำไปสู่การลดทอนคุณค่าความเป็น
มนุษย์ให้เพียงวัตถุอย่างแยบยลผ่านกลไกการส่ือสารและระบบสื่อสารมวลชน ซ่ึงคือ “อ�ำนาจ” อันทรง
พลังของทุนนิยมในการควบคุมมนุษย์ โดยความหมายของการวิพากษ์ (Critical) ยังครอบคลุมไปยัง
ประเด็นการวิจารณ์ การกดข่ี (Oppression) และการขูดรีด (Exploitation) และการแสวงหาแนวทาง
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28