Page 34 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 34

6-24 ความรู้เบือ้ งต้นการส่ือสารชุมชน
       2)	 การเมืองภาคประชาสังคม (Civil society) หรือการเมืองภาคพลเมือง (Citizen politic)

หมายถงึ การมงุ่ รว่ มกนั แขง่ ขนั ของกลมุ่ กอ้ นในสงั คม ทจี่ ะถกเถยี งและบรรจขุ อ้ ตกลงในประเดน็ ตา่ งๆ หรอื
ผลกั ดนั บางเร่อื งบางประเดน็ มาสูก่ ารเป็นนโยบายสาธารณะ

       3) 	การเมืองภาคประชาชน (People's politic) หมายถึง การเคล่ือนของ ขบวนการทางสังคม
รปู แบบใหม่ (new social movement) มงุ่ เคลอื่ นไหวเพอ่ื สรา้ งจติ ส�ำนกึ รว่ มของสงั คม ในประเดน็ ทสี่ รา้ ง
ผลกระทบหลกั ๆ ท่ีเป็นผลประโยชนใ์ หญข่ องมนุษยชน เชน่ การตอ่ ตา้ นโลกาภวิ ตั น์

       อยา่ งไรกด็ แี นวคดิ เรอื่ งของการเมอื งภาคพลเมอื งนนั้ ณรงค์ บญุ สวยขวญั (เรอ่ื งเดยี วกนั ) สำ� รวจ
การศึกษาสังคมไทยก็พบว่า วางอยู่บนฐานของกระแสทางความคดิ อยู่ 5 แนวคดิ ด้วยกัน คอื วฒั นธรรม
ชมุ ชน กจิ กรรมอาสาสมคั ร การเคลอื่ นทางสงั คมรปู แบบใหม่ กลมุ่ คนรากหญา้ /คนชน้ั ลา่ ง และประชาสงั คม
โดยมรี ายละเอียด ดังนี้

กระแสแนวคิดของกลุ่มการเมืองภาคประชาชน

       1)	 กระแสกลุ่มวัฒนธรรมชุมชน (Community group) เป็นแนวคิดที่พยายามอธิบายชุมชน
แบบอนาธิปไตย (Anarchy) ท่ีไม่เชื่อรัฐ โดยมีฐานความเช่ือว่า สังคมคือกลไกอันหนึ่งที่มีความส�ำคัญ
ที่มีความเข้มแข็ง ชุมชนแบบนี้มีการพึ่งพาตัวเอง มีปึกแผ่น มีน�้ำใจ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เป็นสังคม
ในอดีตทแ่ี ทบจะไม่ต้องพึ่งพารฐั ซึง่ เคยเกดิ มากอ่ นในสงั คมแบบบุพกาล ผทู้ ี่มบี ทบาทส�ำคญั ในการเสนอ
แนวความคิดเช่นน้ีก็คือ ฉัตรทิพย์ นาถสุภา ท่ีพยายามเสนอว่า แนวคิดเช่นนี้มีพลังของการต่อรองและ
มเี สถยี รภาพ สามารถยนื หยดั ตอบโตก้ บั พลงั เศรษฐกจิ แบบตลาดได้ โดยแนวคดิ เชน่ นถ้ี กู ปรบั มาสแู่ นวคดิ
เร่ือง ทุนทางสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น (ฉัตรทิพย์ นาถสุภา, 2542: 45) ความสนใจของกลุ่มแนวคิดนี้
ก็คือ ปฏิบัติการวัฒนธรรมชุมชนที่เกิดข้ึนจากส�ำนึกชุมชน เพ่ือพลิกฟื้นให้เกิดความเข้มแข็งของชุมชน
ทอ่ี าศยั พลงั การขบั เคลอ่ื นจากภายในสงั คมนน้ั เอง เอาตวั เองเชอ่ื มโยงกบั ขบวนการและปฏบิ ตั กิ ารจนกลาย
เป็นกระแสสังคมควบคู่ไปกับวัฒนธรรมระดับชาติและวัฒนธรรมสากล ในขณะเดียวกันก็ไม่ได้ปฏิเสธรัฐ
และทนุ แต่พยายามจะลดการพีึ่งพาลง อาศัยวัฒนธรรมชุมชนดำ� เนนิ การไปตามศกั ยภาพและความสนใจ
ในแตล่ ะชมุ ชนทค่ี วามแตกต่างหลากหลายในเนื้อหาสาระและวิธกี าร

       2) 	กระแสกลุ่มกิจกรรมอาสาสมัคร (Voluntary action) กลุ่มน้ีมีฐานคิดว่าด้วยการให้ความ
ช่วยเหลือเก้ือกูลเพื่อนมนุษย์โดยมีอิทธิพลของศาสนาอยู่เบื้องหลัง โดยมีจุดมุ่งหมายในการท่ีจะแสวงหา
ความรว่ มมอื และชว่ ยเหลอื เพอื่ นมนษุ ยด์ ว้ ยกนั ผา่ นกจิ กรรมอนั หลากหลาย ขณะเดยี วกก็ า้ วขา้ มการพงึ่ พา
ความช่วยเหลือจากรัฐและอ�ำนาจการเมือง โดยสามารถพบผ่านองค์กรหรือกลุ่มเพ่ือการกุศล (Charity
Organization) โดยมกี ารจดั รปู แบบองคก์ รอยา่ งองคก์ รพฒั นาเอกชนทม่ี คี วามเปน็ ทางการในนาม “สมาคม
การกศุ ล” หรอื “สมาคมอาสาสมัคร” กจิ กรรมของกล่มุ หลา่ น้ีโดยทว่ั ไปมกั มีปฏิกิรยิ าทางบวกกบั รัฐ หรอื
หนนุ เสรมิ รฐั เนอื่ งจากไดเ้ ขา้ ไปชว่ ยหนนุ เสรมิ หรอื อดุ ชอ่ งวา่ งบางประการทไี่ มส่ ามารถกระทำ� ไดใ้ นกรณที ่ี
รัฐมีความล่าช้าหรือไม่ทันการณ์ต่อการตัดสินใจ เช่น งานด้านภัยพิบัติ หรืองานสังคมสงคราะห์และ
สวสั ดิการสังคม
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39