Page 38 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 38

6-28 ความรูเ้ บอื้ งต้นการสอื่ สารชมุ ชน
       แต่ในทัศนะของพวกมาร์กซิสต์ ความหมายของ “ประชาสังคม” น้ันหมายรวมถึงเศรษฐกิจ

การเมอื งแบบทนุ นยิ มทร่ี วบรวมเอาชนชน้ั ตา่ งๆ ประกอบขนึ้ มาเปน็ สงั คม ขอ้ เสนอของมารก์ ซสิ ตค์ นสำ� คญั
อย่าง อันโตนิโอ กรัมชี่ (Antonio Gramsci) นยิ ามวา่ หาได้หมายถงึ ชนชนั้ ตา่ งๆ และเศรษฐกจิ แบบ
ระบบตลาดเทา่ นน้ั หากแตไ่ ดร้ วมเอาระบบความคดิ และวฒั นธรรมของชนชนั้ ตา่ งๆ เขา้ ไปในนน้ั ดว้ ย นยิ าม
อันใหม่นี้ได้สลายปราการของนิยามของ “ชนชั้น” (Class) อันแข็งตัวออกไปเสีย จนภายหลังได้พัฒนา
มาสขู่ อ้ เสนอทเ่ี รยี กวา่ “กลมุ่ กอ้ นทางประวตั ศิ าสตร”์ (Historical Bloc) ซง่ึ การสอื่ สารไดเ้ ขา้ มามบี ทบาท
อยา่ งมากในการเชื่อมโยงกบั กลมุ่ ผลประโยชน์ระหวา่ งชนช้นั เหลา่ นนั้

       เม่ือสังเกตดีๆ จะพบว่า แนวคิดประชาสังคมในกลุ่มเสรีนิยมและเสรีนิยมปีกซ้าย จะมองความ
กลมกลนื และเปน็ เอกภาพ ภายในภาคประชาสงั คมเปน็ หลกั และเนน้ มองความขดั แยง้ ตอ่ สู้ ตอ่ รองกบั รฐั
เป็นหลัก ในขณะท่ีพวกมาร์กซิสต์ น้ันเน้นการมองความขัดแย้งทางชนช้ัน ท้ังภายในภาคประชาสังคม
กันเองและความขดั แยง้ กับรฐั

       การท่ีพวกมาร์กซิสต์วิเคราะห์ลักษณะทางสังคมเช่นน้ีมาก่อน โดยท�ำการวิเคราะห์สิ่งที่เรียกว่า
“กลุ่มผลประโยชน์” “ชนชั้น” และ “ขบวนการทางสังคม” โดยทุกกลุ่มล้วนมีลักษณะร่วมกันก็คือการมี
ตำ� แหนง่ และทท่ี างอยรู่ ะหวา่ งรฐั กบั ปจั เจกชน ประเดน็ ทจ่ี ะตอ้ งท�ำความเขา้ ใจกค็ อื ประชาสงั คมนนั้ มงุ่ ทจ่ี ะ
เคลอ่ื นไหวเพ่อื ลดอำ� นาจ บทบาทหน้าท่ีของรฐั ลง

       อยา่ งไรก็ดี เอนก เหล่าธรรมทัศน์ (2556ก) วคิ ราะห์จดุ รว่ มและจุดตา่ งของแนวคิด “ชุมชน” กบั
“ประชาสังคม” ว่า

       จุดร่วม
       1)	 ปฏเิ สธปัจเจกนิยม (Individual) สดุ ขัว้ ตอ้ งการให้มนุษย์ รว่ มแรงร่วมใจ คิดถึงสว่ นรวม
       2)	 ปฏิเสธรฐั นิยม (Statism) ไม่ชอบให้รฐั มบี ทบาทมากเกนิ ไป อยากให้ชุมชน ภาคเอกชนและ
กลุ่มต่างๆ มีศักยภาพในการช่วยเหลือตัวเองแทนที่จะพ่ึงพาแต่รัฐ ซ่ึงเป็นฐานคิดที่มองว่ารัฐและระบบ
ราชการ ไมม่ ปี ระสทิ ธภิ าพมากพอ ขณะทก่ี ารมสี ว่ นรว่ มทางการเมอื ง นนั้ ชว่ ยขบั เนน้ ใหส้ งั คมเขม้ แขง็ และ
มพี ลเมอื งทีด่ ี
       จุดต่าง
       1)	 แม้ “ประชาสงั คม” และ “ชุมชน” สามารถอธบิ ายครอบคลุมไดท้ งั้ สังคมเมืองและชนบท แต่
ประชาสังคม กลับมีจุดเน้นที่การรวมกลุ่มความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มของคนในสังคมเมืองสมัยใหม่
ส่วนชุมชนเป็นการรวมกลุ่มสัมพันธ์ในชนบทมากกว่า ทง้ั ประชาสงั คมยงั เนน้ ไปทกี่ ารสรา้ งความสมั พนั ธ์
กับผู้คนแปลกหน้า ที่ไม่เคยใกล้ชิดสนิทสนม หรือมีความสัมพันธ์ในเชิงเครือญาติ ส่วนชุมชนคือความ
สัมพันธ์ของผู้คนในความใกล้ชิดทางสายเลือด เครือญาติ ถน่ิ ฐานบ้านเรือน
       2)	 แม้ว่าทั้งประชาสังคมและชุมชน จะมีมุมมองเชิงอุดมคติเรื่อง ความปรองดองและเสียสละแก่
สว่ นรวม แตก่ ไ็ มไ่ ดป้ ฏเิ สธหรอื ตอ่ ตา้ นความเปน็ ปจั เจกชน โดยเมอื่ พจิ ารณาจากขอ้ เสนอของ ตอ๊ กเกอรว์ ลิ ล์
(Tocqueville) เฮเกล (Hegel) และ เดอร์ไคม์ (Durkheim) แม้จะเห็นว่าการทำ� งานเพ่ือสว่ นรวม สงั คม
มคี วามสำ� คญั เปน็ หลกั แตก่ ระนน้ั กเ็ หน็ ถงึ ความสำ� คญั ของความเปน็ ตวั ของตวั เอง ความเปน็ ปจั เจกชนกบั
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43