Page 41 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 41
การส่ือสารชมุ ชนกับการพัฒนาการเมอื งชุมชน 6-31
3) บทบาทประชาสงั คมเพม่ิ มากขน้ึ คขู่ นานกบั การมสี ถาบนั ทางการเมอื ง (Political Institution)
โดยบทบาทของประชาชนน้ันจะมีเพิ่มมากข้ึน ขณะเดียวกันก็ยังคงมีการเมืองแบบสถาบันด�ำรงอยู่ แต่
บทบาทในเชิงตัวแทนท่ีเคยทรงพลังและถกู สถาปนามาตลอดจะถกู ลดความสำ� คญั ลง แตก่ ใ็ หก้ ระบวนการ
ทางสงั คมทเี่ ขา้ ไปมบี ทบาททางการเมอื งมากขึน้
พัฒนาการของการเมืองภาคประชาชน
เสกสรรค์ ประเสริฐกุล (2551) นักรัฐศาสตร์และอดีตผู้น�ำนักศึกษา ที่มีบทบาทอย่างย่ิงในการ
ขับเคล่ือนแนวคิด “การเมืองภาคประชาชน” ได้นิยามความหมายของการเมืองรูปแบบน้ีว่า หมายถึง
การเมืองท่ีวางอยู่บนฐานคิดของการเมืองแบบมีส่วนร่วมของพลเมือง ท่ีหมายรวมไปถึงการเคล่ือนไหว
ของภาคประชาชนทั่วไปในการแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับนโยบาย - กิจการสาธารณะ การเคลื่อนไหว
ในประเด็นเฉพาะเพ่ือแสดงสิทธิในการก�ำหนดวิถีชีวิตหรือยับย้ัง ทักท้วงการกระท�ำของรัฐท่ีละเมิดต่อ
ผลประโยชน์ของพวกเขา ซ่ึงอยู่ภายใต้ระบบการเมืองแบบเปิด
โดยเงือ่ นไขท่ีรองรบั จะตอ้ งวางอยบู่ นพ้ืนฐาน 2 ประการกค็ อื
ประการแรก จะต้องมีการด�ำรงอยู่ของพื้นท่ีสาธารณะ (Public Space) ส�ำหรับการแสดงความ
เห็นอยา่ งเสรีของสาธารณชน
ประการที่สอง จะต้องมีการยอมรับหรือรับรองด้วยกฎหมายว่าด้วยสิทธิของการด�ำเนินกิจกรรม
ทางการเมอื ง ใหป้ ระชาชนสามารถด�ำเนินกจิ กรรมทางการเมืองโดยสนั ติ
เสกสรรค์ (เรอื่ งเดยี วกัน) ใหค้ วามเหน็ ว่า บางความเห็นอาจมองว่า การแสดงสทิ ธิเสรภี าพเช่นน้ี
อาจเหมอื นกบั ความคดิ เรอ่ื ง “ภาคประชาสงั คม” (Civil Society) แตเ่ ขาเสนอวา่ ถา้ เปน็ ความหมายแบบ
ทีเ่ ครง่ ครัดแลว้ ประชาสงั คมมคี วามหมายที่กวา้ งขวางกวา่ การเมืองภาคประชาชน เพราะมีความหมายท่ี
ครอบคลุมรวมทุกภาคส่วนท่ีไม่ใช่รัฐเข้าไปด้วย โดยอาจจะสรุปได้ว่า “การเมืองภาคประชาชน” น้ันถือ
เป็นสว่ นหนงึ่ ของการเคล่อื นไหวในภาคประชาสังคม
ข้อพจิ ารณาท่ีสำ� คัญอกี ประการกค็ ือ การเมอื งภาคประชาชนน้นั มีความแตกตา่ งจาก “ขบวนการ
ปฏิบัติ” ที่เน้นการเข้ากุมอ�ำนาจรัฐ แต่การเมืองภาคประชาชนนั้นเน้นไปท่ีการประสงค์ที่จะได้มาซ่ึงการ
ก�ำหนดชะตากรรมของตนเอง (Self Determination) โดยทไี่ มต่ ้องผา่ นรฐั
ดังท่ีได้กล่าวในข้างว่าต้นก็จะพบว่าพัฒนาการของการเมืองในตะวันตก จะเห็นพลวัตทาง
ประวตั ศิ าสตรท์ ่ีชีใ้ หเ้ หน็ การเคล่ือนย้ายกระบวนทัศน์ (Paradigm Shift) ทางการเมืองท่ีมีมุมมองจาก
เดิมท่ีเคยมองว่า “รัฐเป็นตัวต้ัง” (State Oriented) “อ�ำนาจ” ท่ีเคยด�ำรงอยู่อย่างเต็มท่ีและมีความ
สัมบูรณ์ได้เคลื่อนย้ายมาสู่ การเอาประชาชนเป็นตัวตั้ง (People Oriented) ทที่ ำ� ใหป้ ระชาชนไดม้ อี ำ� นาจ
ในการตดั สนิ และจดั การทรัพยากรบางอย่างดว้ ยตนเองโดยไม่ต้องพงึ่ พารัฐ
แนวความคดิ เหลา่ นม้ี ีพัฒนาการในสงั คมอย่างไร เมอ่ื ย้อนไปดูเง่อื นไขทางประวัติศาสตร์กจ็ ะพบ
วา่ แรงขบั ทสี่ ำ� คญั ของประเดน็ นก้ี ค็ อื การเปลย่ี นแปลงทางสงั คมจากยคุ เผดจ็ การมาสยู่ คุ ทอ่ี ำ� นาจถา่ ยโอน
มาสยู่ คุ ประชาธปิ ไตยในช่วงหลงั จากเหตกุ ารณ์ 14 ตลุ าคม 2516 ที่นกั ศึกษาและสาธารณชนจ�ำนวนมาก