Page 44 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 44

6-34 ความรเู้ บ้อื งต้นการสอ่ื สารชุมชน
สง่ เสยี งของปญั หานใี้ หถ้ งึ การตดั สนิ ใจของฝา่ ยนโยบายเพอื่ แกป้ ญั หาไดง้ า่ ยขน้ึ ดว้ ย ซง่ึ เปน็ การเคลอื่ นไหว
ของชนกลุ่มน้อยแต่กลับส่งผลกระเทือนต่อสังคมได้มากด้วย ประเด็นที่เรียกร้องก็หลากหลาย ต้ังแต่การ
แอนตี้การคอรร์ ปั ชั่นไปจนถงึ การใชค้ วามรุนแรงของรับต่อประชาชน

       3)	 การประทว้ งอำ� นาจรฐั และเรยี กรอ้ งใหถ้ า่ ยโอนอำ� นาจทร่ี ฐั มมี าเปน็ ของประชาชน จดุ เรมิ่ ตน้ ของ
การคดั คา้ นและเคลอ่ื นไหวในลกั ษณะนกี้ ค็ อื การตดั สนิ ใจหรอื การดำ� เนนิ การโครงการของรฐั ทสี่ ง่ ผลกระทบ
ต่อกลุ่มประชาชน ที่อยู่อาศัยในชุมชนท้องถ่ิน ที่การต่อต้านนั้นเป็นผู้ท่ีได้รับความเดือดร้อนโดยตรง
การเรียกร้องจึงเน้นให้มีการยุติโครงการหรือพิจารณาโครงการใหม่โดยให้ภาคของชุมชนได้เข้ามามีส่วน
ในการตัดสนิ ใจหรือใหค้ วามเหน็ ชอบ การเคลือ่ นไหวเชน่ น้จี ึงไม่ได้จำ� กดั อยเู่ ฉพาะการเคลอื่ นไหวในพน้ื ท่ี
ชนบทแต่กลับครอบคลุมในอาณาบริเวณของเมืองท่ีมีการขยายตัวของเมือง ส่งผลกระทบโดยตรง เช่น
การตอ่ ตา้ นการยา้ ยชมุ ชนบา้ นครวั เพอ่ื สรา้ งทางดว่ น หรอื การเคลอ่ื นไหวเพอื่ ยตุ กิ ารแปรรปู องคก์ รรฐั วสิ าหกจิ
ท่มี ีสหภาพแรงงานการไฟฟ้าฝา่ ยผลิตเปน็ หวั หอก เปน็ ต้น

       4)	 การรว่ มมอื เชงิ วพิ ากษ์ (Critical Cooperation) กบั รฐั หรอื เกย่ี วขอ้ งอยา่ งสรา้ งสรรค์ (Con-
structive Engagement) เพอื่ เบยี ดแยง่ พนื้ ทใ่ี นกระบวนการใชอ้ �ำนาจมาเปน็ ของประชาสงั คม เปน็ ลกั ษณะ
ของการถ่วงดุลความร่วมมือของรัฐและทุน การเคลื่อนไหวน้ีพยายามท่ีจะถ่ายโอนอ�ำนาจบางด้านจากรัฐ
มาส่ปู ระชาชนดว้ ยการใช้ความสามารถในการจะท�ำงานรว่ มกับรัฐ ดงั จะพบได้จากการท�ำงานของสถาบัน
ชุมชนท้องถิ่นพัฒนา (พอช.) ที่มีเครือข่ายอยู่ไม่ต�่ำกว่า 1 แสนกลุ่มท่ัวประเทศ แนวทางน้ีพยายามท่ีจะ
ผลกั ดนั ใหป้ ระชาชนรากหญา้ เขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการแกป้ ญั หา แทนทจี่ ะรอรฐั จากเบอ้ื งบนเขา้ มาแกป้ ญั หา
โดยใช้การพัฒนาแบบยั่งยืน ท่ีมีหลากหลายทางเลือก ไม่ได้มุ่งเพื่อการป้อนการผลิตเข้าสู่ตลาดทุนเพียง
อยา่ งเดยี ว แตเ่ นน้ ไปที่การพึ่งตนเองเกอื้ หนุนช่วยเหลือกนั ระหวา่ งกลุ่ม

       ลกั ษณะสำ� คญั ของกลมุ่ นกี้ ค็ อื จดุ ยนื ในการไมเ่ หน็ ดว้ ยกบั การพฒั นากระแสหลกั รวมถงึ โครงสรา้ ง
ทมี่ อี ยู่ ทัง้ ยงั วพิ ากษว์ ิจารณอ์ ยา่ งเขม้ ข้น ขณะเดยี วกันกแ็ ข็งขันและรว่ มมือกบั ภาครัฐและเอกชนเทา่ ทีจ่ ะ
ท�ำได้ โดยมคี วามสมั พนั ธใ์ นแบบที่อาศยั แหลง่ ทนุ และลดทอนความขดั แย้งระหวา่ งรัฐกับสังคม

กิจกรรม 6.1.5	
       จงอธบิ ายความหมายและความส�ำคัญภาคประชาสงั คมและความเป็นพลเมือง

แนวตอบกิจกรรม 6.1.5
       เมื่อ “อำ� นาจ” ไดเ้ คล่ือนยา้ ยจากชนช้นั นำ� มาสู่ภาคประชาชน ผู้คนสามัญได้แสดงบทบาทใหมๆ่

ในฐานะของตัวแสดงทางการเมอื ง (Political Actor) ที่ไมใ่ ชร่ ัฐมากขึ้น จนขยายมาส่แู นวคดิ เรอื่ งประชา
สังคมและความเปน็ พลเมอื งในเวลาตอ่ มา
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49