Page 48 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 48

6-38 ความรู้เบ้ืองตน้ การสือ่ สารชุมชน
เกีย่ วข้องโดยตรงกับการปรบั ปรงุ รูปแบบการเมอื ง การปกครอง สถาบันตา่ งๆ ทางการเมือง โดยในการ
สรา้ งความเปลย่ี นแปลงตอ้ งการทจ่ี ะปรบั ความรู้ ความเขา้ ใจ ทศั นคตแิ ละความเชอื่ ทางการเมอื งของบคุ คล
ใหส้ อดคลอ้ งกบั การเปลย่ี นแปลงโครงสรา้ งและกระบวนการดว้ ย ดงั นน้ั การพัฒนาการเมืองจึงต้องเน้นไป
ท่ีการสร้างการเรียนรู้ทางการเมืองที่มีผลต่อพฤติกรรมเชิงสนับสนุนในระบบการเมือง

       ในทน่ี ก้ี าร “การพฒั นาการเมอื ง” จงึ ไมไ่ ดห้ มายถงึ กระบวนการทท่ี ำ� ใหก้ ารเมอื งมคี วาม “ทนั สมยั ”
อันมักเป็นที่เข้าใจกันว่าต้องไปตามทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกตะวันตกเท่านั้น แต่ต้องรวมไปถึง
การพฒั นาโครงสรา้ งและกระบวนการทางการเมือง สมาชิกทางการเมอื ง

       ลเู ซยี น พาย (Lucian Pye) ศาสตราจารยท์ างรฐั ศาสตรแ์ หง่ สถาบนั เทคโนโลยแี หง่ แมสซาชเู ซตท์
(MIT) แมว้ า่ เขาจะเปน็ นกั รฐั ศาสตร์ แตข่ ณะเดยี วกนั ในสาขาวชิ านเิ ทศศาสตรเ์ พอื่ การพฒั นา (Development
Communication) กย็ กยอ่ งวา่ พาย เปน็ ผมู้ บี ทบาทสำ� คญั ตอ่ การพฒั นาความรดู้ า้ นการสอ่ื สารเพอ่ื การพฒั นา
การเมือง โดยถือว่ามีความส�ำคัญในฐานะบิดาผู้วางรากฐานด้านการส่ือสารด้านการพัฒนา เสมอกับ
นกั วชิ าการคนอน่ื ๆ ในรนุ่ ราวคราวเดยี วกนั อยา่ ง วลิ เบอร์ ชแรมม์ (Wilber Schramm) แดเนยี ล เลริ น์ เนอร์
(Daniel Lerner) และเอเวอเร็ท โรเจอร์ส (Everett Rogers)

       โดย พาย กลา่ วสรปุ เพ่อื นยิ ามความหมายของ “การพัฒนาการเมือง” ในแตล่ ะสงั คมวา่ ลกั ษณะ
ร่วม 3 ประการดงั นี้

       1.	 ความเสมอภาค (Equality) หมายถงึ การเปน็ ผมู้ สี ทิ ธเิ สรภี าพและความเสมอภาคเปน็ เจา้ ของ
อำ� นาจอธปิ ไตย มคี วามเสมอภาคตอ่ ด้านกฎหมายและมีความเสมอภาคทางการเมอื ง มศี ักด์ศิ รขี องความ
เป็นมนษุ ย์ ได้รับการคุ้มครองตามหลักนติ ิรฐั และนติ ธิ รรม มีบาทและสถานะไมไ่ ดเ้ ปน็ แค่ผถู้ ูกปกครองแต่
เปน็ ผู้ทม่ี ีสทิ ธแิ ละมสี ่วนร่วมในการทางการเมืองอยา่ งย่งิ

       2.	 การแบ่งแยกอ�ำนาจ (Differentiation) หมายถงึ การแยกแยะโครงสรา้ งและหนา้ ที่ (Structural
Differentiation และ Functional Specificity) การมพี ฒั นาการทางการเมอื งจงึ หมายถงึ แบง่ แยกอำ� นาจ
ทางนติ บิ ญั ญตั ิ บรหิ าร และตลุ าการ ทมี่ อี ำ� นาจทง้ั คาบเกยี่ วและทำ� หนา้ ทต่ี รวจสอบและถว่ งดลุ ระหวา่ งกนั
มโี ครงสรา้ งของกระทรวง ทบวง กรม แบง่ หนา้ ทไี่ ปตามภารกจิ และความรบั ผดิ ชอบ โดยไมท่ ำ� งานซำ�้ ซอ้ น
กนั ตั้งแต่โครงสร้างใหญ่ไปจนถึงโครงสรา้ งสว่ นยอ่ ย

       3.	 ศักยภาพ (Capacity) หมายถึง จะต้องมีศักยภาพหรือความสามารถของระบบการเมืองน้ัน
ในการใชท้ รพั ยากรอยา่ งมเี หตมุ ผี ลตามหลกั ธรรมาภบิ าล สามารถวางแผนในการใชท้ รพั ยากร วางนโยบาย
สาธารณะเพื่อการพัฒนาสงั คมอย่างมเี หตมุ ีผลตามหลักการบรหิ าร สรา้ งสังคมให้มดี ลุ ยภาพจดั การความ
ขดั แยง้ ได้ สรา้ งใหร้ ฐั และผใู้ ชอ้ ำ� นาจ มคี วามชอบธรรมทงั้ ในการเขา้ สตู่ ำ� แหนง่ อำ� นาจและการบรหิ ารประเทศ

       นอกจากนี้ สมบตั ิ ธำ� รงธญั วงศ์ (2539) ยงั ไดส้ รปุ องคป์ ระกอบสำ� คญั ของการพฒั นาทางการเมอื ง
เพม่ิ เตมิ จากขอ้ เสนอ ลเู ซยี น พาย อกี 2 ประการคอื องคป์ ระกอบอนั เปน็ สาระสำ� คญั ของการพฒั นาทางการ
เมืองคือ

       4.	 การเมืองแบบโลกียวิสัย (Secularization of Political Culture) หมายถงึ กระบวนท่ีท�ำให้
วฒั นธรรมการเมอื งเปน็ เรอื่ งทางโลก (Secular world) ซงึ่ หมายถงึ การเสรมิ สรา้ งวฒั นธรรมทางการเมอื ง
แบบมีเหตุมีผล (มีนัยท่ีแยกการเมืองออกจากศาสนจักร) เพ่ือหลีกหนีจากแนวคิดแบบจารีตแบบอ�ำนาจ
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53