Page 51 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 51

การสอื่ สารชุมชนกับการพฒั นาการเมอื งชมุ ชน 6-41
ประโยชน์ต่อการขยายตัวของทุนและหาวิธีการหยุดย้ังผู้คัดค้านต่อต้าน ในกรณีน้ีเสกสรรค์ ประเสริฐกุล
(2551) วเิ คราะหว์ า่ หากจะตอ้ งหาพลวตั ใหมเ่ พอ่ื สรา้ งการเปลย่ี นแปลงกจ็ ะตอ้ งหนั มามอง พจิ ารณาทภ่ี าค
สังคม โดยเฉพาะในส่วนของ ภาคประชาสังคม (Civil Society) การเมืองของภาคประชาชนจึงไม่ได้
แค่ท�ำหน้าที่ในการจ�ำกัดขอบเขตอ�ำนาจของรัฐ หากแต่ยังท�ำหน้าท่ีเป็นพลังในการถ่วงดุลอ�ำนาจของ
พลังตลาด ที่เป็นการสังกัดจากภาคสังคมอีกด้วย ในกรณีเช่นน้ีจะเห็นการช่วงชิงการลดทอนอ�ำนาจรัฐ
ระหว่างฝา่ ยทนุ กบั ฝา่ ยประชาชน โดยจุดร่วมทีส่ �ำคัญก็คือต่างพยายามที่จะถ่ายโอนอำ� นาจบางสว่ นท่ีเคย
เป็นของรัฐมาเป็นของตน เพ่ือความสามารถในการใช้อ�ำนาจโดยตรงและไม่ผ่านรัฐอย่างเดิม รวมถึง
พยายามผลกั ดัน เน้นหนักจากการเมอื งแบบตัวแทนมาสกู่ ารเมืองแบบมีส่วนรว่ มมากขนึ้

       โจทยท์ ส่ี ำ� คญั ของนกั เรยี นการสอื่ สารกค็ อื การเมอื งในระดบั ชมุ ชนเปน็ อยา่ งไร และการสอ่ื สารจะ
เขา้ ไปมบี ทบาทอยา่ งไรในการพฒั นาทางการเมอื งโดยมติ ทิ เ่ี นน้ การใหค้ วามส�ำคญั แกภ่ าคประชาชนเชน่ น้ี

การสื่อสารชุมชมกับการเมือง

       ในการทจี่ ะทำ� ความเขา้ ใจความสมั พนั ธข์ อง “ชมุ ชน” กบั “การเมอื ง” โดยมกี าร “สอ่ื สาร” เขา้ มา
เกี่ยวข้องด้วย มีความจ�ำเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องท�ำความเข้าใจในประเด็นของ “การส่ือสารทางการเมือง”
รว่ มดว้ ยกอ่ นทจ่ี ะทำ� ความเขา้ ในประเดน็ “การสอ่ื สารชมุ ชนกบั การพฒั นาทางการเมอื งของชมุ ชน” ตอ่ ไป
โดยปกติในการนิยามค�ำว่า “การสื่อสารทางการเมือง” มักจะหยิบยกแบบจำ� ลองอันหนึ่งท่ีแสดงความ
สมั พนั ธข์ องการสอ่ื สารสอ่ื มวลชน อำ� นาจหรอื การตดั สนิ ใจหรอื การจดั การทางการเมอื ง รวมไปถงึ องคป์ ระกอบ
พ้ืนฐานของการส่ือสาร โดยตัวแบบที่มักถูกกล่าวถึงอยู่บ่อยคร้ังก็คือ แบบจ�ำลองของ Gurevitch &
Blumler (1977) (ดูเพมิ่ เติมใน กาญจนา, 2540) เนอ่ื งจากแบบจำ� ลองดังกล่าวนั้นเน้นไปท่คี วามสัมพนั ธ์
ระหวา่ ง “แหลง่ ขา่ ว” หรอื “แหลง่ ขอ้ มลู ทางการเมอื ง” ทเ่ี ชอ่ื มโยงกบั สอื่ กระแสหลกั หรอื สถาบนั การสอ่ื สาร
มวลชนในการทำ� ให้ขอ้ มลู ข่าวสารเป็นประเดน็ สาธารณะ

       แตเ่ นอื่ งจากเนอ้ื หาในสว่ นนเี้ ปน็ ประเดน็ ทเ่ี ชอ่ื มโยงความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งความเปน็ “ชมุ ชน” กบั
“การเมือง” ทม่ี ี “การส่ือสาร” คอยเชือ่ มโยงในระดบั ของชุมชน – สังคม จงึ จะขอกลับไปสู่การท�ำความ
เข้าใจความสัมพันธ์ของตัวแปรดังกล่าวในระดับพ้ืนท่ี ซ่ึงอาศัยแบบจ�ำลอง “ระบบการเมือง” (Political
System) ของ เดวิด อีสตัน (David Easton) โดยแบบจ�ำลองนี้ถูกน�ำมาใช้ในการท�ำความเข้าใจและ
อธิบายปรากฏการณ์ทางการเมืองและนโยบายสาธารณะอยา่ งกว้างขวาง

       อสี ตนั (1965, อา้ งในสมบตั ิ ธำ� รงธญั วงศ,์ 2554: 107 – 119) อธบิ ายแนวคดิ ผา่ นแนวคดิ เชงิ ระบบ
พ้นื ฐาน (System theory) ที่มอี งค์ประกอบของข้อมลู ขาเข้า (Input) ไหลผา่ นระบบและมขี ้อมลู ขาออก
(Output) และขอ้ มลู ยอ้ นกลบั (Feedback) เพราะมฐี านคตวิ า่ การเมอื งนน้ั เหมอื นสงิ่ มชี วี ติ มอี งคป์ ระกอบ
ตา่ ง ๆ คอื มีองคป์ ระกอบภายในสถาบนั ทางการเมืองตา่ ง ๆ มีส่ิงแวดล้อมเป็นองคป์ ระกอบภายนอก ทม่ี ี
อทิ ธพิ ลตอ่ ระบบ ดงั นน้ั “กจิ กรรมทางการเมอื ง” กบั “สง่ิ แวดลอ้ ม” จงึ ถกู เชอ่ื มเอาไวด้ ว้ ย “ปฏสิ มั พนั ธ”์
ที่จะก่อให้เกิดผลผลิตท่ีส�ำคัญคือ นโยบายสาธารณะ (Public policy)

       เพราะว่าระบบการเมืองสัมพันธ์อยู่กับสภาพแวดล้อม ส่ิงใดที่เกิดข้ึนภายในสภาพแวดล้อมจะส่ง
ผลกระทบเข้าสู่ระบบการเมืองในรูปของปัจจัยนำ� เข้า (Input) ระบบการเมืองมีหน้าท่ีท่ีส�ำคัญก็คือ “การ
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56