Page 56 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 56

6-46 ความรเู้ บอ้ื งตน้ การส่อื สารชุมชน

เร่ืองที่ 6.2.2	
บทบาทของภาคประชาสังคมต่อพื้นท่ีสาธารณะในการพัฒนาการเมือง
ของชุมชน

พื้นท่ีสาธารณะกับการพัฒนาการเมืองชุมชน

       ธรี ยทุ ธ บญุ มี (2543) เคยได้เสนอกลไกในการสรา้ งประชาสงั คมว่า จะตอ้ งสรา้ งดว้ ยการปลูกฝงั
ให้เป็นอุดมการณ์ใหม่ โดยต้องสร้างให้มีความเท่าเทียม ส�ำคัญหรือใกล้เคียงกับอุดมการณ์หลักของชาติ
คอื ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ แ์ ละรฐั ธรรมนญู โดยทน่ี ยิ ามของคำ� วา่ ชาติ แตก่ ารจะสรา้ งใหภ้ าคประชาสงั คมเปน็
เชน่ นนั้ ไดก้ จ็ ำ� เปน็ ทจ่ี ะตอ้ งมกี ลไกบางประการในการทจ่ี ะสถาปนาพนื้ ทดี่ งั กลา่ วใหเ้ กดิ ขน้ึ มาซง่ึ ประเดน็ จงึ
มคี วามเชือ่ มโยงกบั เรอื่ ง “พนื้ ทสี่ าธารณะ”

       ตามทศั นะของ เจอรเ์ กน็ ฮาเบอรม์ าส (Jurgen Habermas) ตอ่ ประเด็น “ประชาสังคม” จาก
งานเรอ่ื ง Between Facts and Norms ไดเ้ ผยใหเ้ หน็ ความสำ� คญั ของการมองประชาสงั คม ทแี่ ตเ่ ดมิ มอง
วา่ เปน็ ขวั้ ตรงกนั ขา้ มกบั รฐั หรอื กรอบแบบมารก์ ซสิ ตด์ ง้ั เดมิ มองเรอื่ งของกฎหมายและกลไกของรฐั รปู แบบ
อื่นๆ เป็นเคร่ืองมือของนายทุนหรือชนช้ันปกครอง แต่ฮาเบอร์มาสกลับชี้ให้เห็นว่า ประชาสังคมน่ีแหละ
กลบั มคี วามสำ� คญั มากในการทำ� หนา้ ทคี่ อยเชอ่ื มโยงกบั กฎหมาย เพราะกระบวนการออกแบบกฎทางสงั คม
เป็นกลไกหน่งึ ในการควบคุมทิศทางชะตากรรมของสงั คม (ดู ธรี ยุทธ บญุ มี, 2547)

       ฮาเบอร์มาส มองปฏิบัติการทางการสื่อสาร เป็น “แก่นแกน” ที่ส�ำคัญในการสร้างมนุษย์และ
สังคมข้ึนมา โดยมนุษย์อาศัยการส่ือสาร การพยายามท�ำความเข้าใจ เรียนรู้โลก เข้าใจผู้อื่น ให้ผู้อ่ืนเข้าใจ
ตัวเอง กระทั่งเกิดการกระท�ำร่วมกันในสังคม สิ่งที่ฮาเบอร์มาส ให้ความสนใจอย่างยิ่งก็คือ ปฏิบัติการ
ทางการสอื่ สารทเ่ี นน้ หลกั “เหตผุ ล” ของการสอ่ื สาร โดยมสี งิ่ ทเ่ี รยี กวา่ จรยิ ธรรม–คณุ ธรรมเชงิ สอ่ื สารหรอื
จริยธรรมเชิงวาทกรรม (discourse ethic) แนบแน่นไวด้ ้วย ปฏิบตั ิการทางการสือ่ สารในสงั คมสมัยใหม่
มีบทบาทในหลายด้านอย่างปฏเิ สธไม่ได้ การท�ำความเข้าใจในประเด็นน้ี

       ทัง้ น้ี ฮาเบอร์มาส ให้ความส�ำคญั กับประชาสงั คมและภาคสาธารณะดังนี้
       1)	 ในระดับบุคคล การสร้างอัตลักษณ์ จะด�ำเนินไปได้โดยผ่านกระบวนการหลักเหตุและผลใน
การส่ือสารภายในปริมณฑลชีวิต–ส่วนร่วม การปกป้องพ้ืนที่ของเหตุผลเช่นน้ี ก็คือการปกป้องพ้ืนท่ีของ
“ประชาสงั คม” ที่เปน็ พนื้ ท่ขี องการแสดงออกของปฏิบตั ิการเชงิ สถาบนั ของปริมณฑล–ส่วนรวม จากการ
แทรกแซงของกลไกตลาด
       2)	 ในระดบั ภาคสว่ นยอ่ ย ฮารเ์ บอรม์ าส แบง่ ออกเปน็ 3 สว่ นใหญๆ่ กค็ อื ภาคสว่ นยอ่ ยการเมอื ง
ภาคสว่ นยอ่ ยเศรษฐกจิ ปรมิ ณฑลชวี ติ –สว่ นรวม ซงึ่ ยงั แยกยอ่ ยลงไปอกี 2 สว่ น คอื ภาคสว่ นตวั และภาค
สาธารณะ ฮารเ์ บอรม์ าสชวี้ า่ เหตผุ ลและการสอ่ื สารเปน็ พนื้ ฐานดงั้ เดมิ ของมนษุ ย์ ระบบยอ่ ยทางการเมอื งและ
เศรษฐกิจก็ตอ้ งการพ้ืนที่หรอื เวทสี าธารณะ ในการถกเถียง สนทนา ซ่ึงปริมณฑลสาธารณะที่แทรกอยู่ใน
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61