Page 60 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 60

6-50 ความรู้เบ้อื งตน้ การสอ่ื สารชุมชน
       “Grassroot Media” กจ็ ะเปน็ ลกั ษณะทเี่ ปน็ กลมุ่ รากหญา้ สอ่ื สำ� หรบั ชนชน้ั ลา่ ง ซง่ึ ยงั มกี ารศกึ ษา

เรอ่ื งของสอื่ เหล่านี้ไม่มากนกั
       อบุ ลรตั น์ ศริ ยิ วุ ศกั ด์ิ (2553) ขยายความวา่ สอ่ื ทอี่ ยใู่ นกลมุ่ ทเ่ี รยี กวา่ “สอ่ื ประชาชน” มคี ณุ ลกั ษณะ

ทโ่ี ดดเดน่ จนสงั เกตไดก้ ค็ อื จะต้องเป็นส่ือขนาดค่อนข้างเล็ก มีอิสระและจะต้องไม่ด�ำเนินการแบบธุรกิจ
และไม่ได้ด�ำเนินการแสวงหาก�ำไร โดยไม่ได้หมายความว่า สื่อท่ีไม่มีค่าใช้จ่าย ไม่มีรายได้ แต่ไม่ใช่
การดำ� เนนิ การเหมอื นธรุ กจิ ตง้ั องคก์ รสอ่ื แตไ่ มท่ ำ� เพอื่ แสวงหากำ� ไร ซง่ึ แมว้ า่ ไมไ่ ดท้ ำ� ธรุ กจิ แตก่ จ็ ะตอ้ งมี
วธิ กี าร หารายได้ วิธใี ดวธิ หี นึง่ แตไ่ ม่ใช่แบบการทำ� ธุรกิจเหมอื นสือ่ กระแสหลกั

       แง่น้ีแล้ว “People Media” หรือ “ส่ือประชาชน” อาจจะอยู่ในสถานการณ์ท่ีเป็นปากเสียงให้
ผถู้ กู กดดนั ถกู ปดิ กนั้ มากกวา่ ขณะคำ� วา่ “Citizen Media” “ส่ือภาคประชาสังคม” หรือ “ส่ือพลเมือง”
มีฐานะที่แตกต่างออกไป คือเสียงจากส่ือเหล่าน้ี เป็นสื่อที่ถือทุกคนว่าเป็นสื่อของพลเมือง หมายความ
ว่า เขาเป็นท่ียอมรับในสังคมนั้น ว่ามีสิทธิมีฐานะในพลเมืองของประเทศน้ัน ๆ เพราะฉะนน้ั สทิ ธทิ ไ่ี ดร้ บั
การรบั รองชดั เจน ทต่ี ัวเขารบั ทราบ สังคมรบั ทราบ กลมุ่ อำ� นาจรบั ทราบ สถานภาพอาจจะดกี วา่ พวกที่
จะเรยี กตวั เองวา่ People Media ทเ่ี ขารสู้ กึ วา่ ตวั เองถกู ปดิ กน้ั ถกู กดดนั ทไ่ี มค่ วรพดู ไมค่ วรสอ่ื สาร ขณะ
ทกี่ ลุ่ม Citizen Media จะสื่อสารกบั กลุม่ คนและทำ� หนา้ ทเี่ ปลีย่ นแปลงกลุม่ พลเมืองทปี่ กติ ทค่ี อ่ นข้างจะ
“ตงั้ รบั ตอ่ สถานการณ”์ Passive ไมค่ อ่ ยมสี ว่ นรว่ มในทางการเมอื งเทา่ ใด ใหต้ น่ื ตวั ใหท้ กุ คนมคี วามสนใจ
อยากทจ่ี ะมสี ว่ นรว่ มในกระบวนการทางการเมอื ง ในรปู แบบใดรปู แบบหนงึ่ ของสงั คมในระดบั ใดระดบั หนง่ึ
ทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั ชีวิตของเขา ให้กลายเปน็ “พลเมืองท่มี พี ลัง” Active Citizen ข้นึ มา ถา้ เรามองดแู ล้ววา่
ส่ือพลเมืองเป็นกระบวนการที่ท�ำให้เกิดการเพ่ิมอ�ำนาจ (Empower) หรือการสร้างพลังอ�ำนาจให้แก่
พลเมือง สร้างความส�ำนึกรู้แล้วก็ไปท�ำให้อ�ำนาจแตกย่อยออกมา (Fragment) ไมไ่ ด้ไปรวมศูนย์ ไม่ได้
เปน็ การรวมอ�ำนาจเบด็ เสร็จ (อบุ ลรตั น์ ศิรยิ วุ ศักด์ิ, 2553)

       คลเิ มนเซยี โรดเิ กซ (Clemencia Rodriguze) นกั วชิ าการสอื่ สารชาวอเมรกิ นั เชอื้ สายโคลอมเบยี
ผ้บู ุกเบกิ การศกึ ษาด้านสอ่ื พลเมือง ที่พยายามทำ� ใหผ้ ้ชู าย ผูห้ ญงิ เด็ก สามารถท่ีจะเขา้ ไปเปน็ เจา้ ของอีก
ครั้งหนง่ึ (Reclaim) โดยมองวา่ เพราะสอ่ื เคยหลดุ มอื ไปอยใู่ นมอื คนอน่ื เชน่ นักวิชาชีพ รฐั และทนุ ฯลฯ
แลว้ อา้ งความเปน็ เจา้ ของ ในขณะทตี่ นเองเปน็ “พลเมอื ง” กม็ สี ทิ ธอิ นั ชอบธรรมนน้ั ผทู้ ม่ี สี ทิ ธใิ นการสอื่ สาร
จงึ ควรเข้าไป “เวนคืน” (Reclaim) คืนอ�ำนาจและสทิ ธกิ ารสอ่ื สารกลบั คืนมา โดยสามารถใชส้ ือ่ เล็กๆ อยู่
ในมืออยู่แล้วไม่ว่าเป็น ส่ือวิทยุชุมชน สื่อออนไลน์ใหม่ๆ มาท�ำการส่ือสาร (Rodriguze 2004, อ้างใน
อุบลรัตน์ ศริ ิยุวศักดิ์, 2550)

       โรดเิ กซ กลา่ ววา่ ในระหวา่ งทเี่ ราสอ่ื สารนน้ั เราสามารถจะใชส้ อ่ื พลเมอื งนน้ั สรา้ งวฒั นธรรมขนึ้ มา
ใหม่ผ่านภาษา ส่ือพลเมืองจะต้องมีความสามารถที่จะสร้าง “อ�ำนาจ” ผ่านภาษาของการส่ือสาร แล้วก็
เรยี กสง่ิ ตา่ งๆ รอบตวั ในภาษาทเี่ ราสรา้ งสรรคข์ นึ้ มาใหม่ เหมอื นกบั เราสรา้ งโลกขน้ึ มาใหมไ่ ด้ ขอ้ เสนอของ
เธอจึงมีความลึกซ้ึงว่าสิทธิของพลเมืองในการสื่อสารนั้นคือ ความสามารถในการผลิต “วาทกรรม”
(Discourse) มาได้เอง เพ่ือสามารถอธิบายให้โลกได้พูดสิ่งรอบๆ ตัวเราได้ ในมิติของภาคพลเมืองที่จะ
สร้างถ้อยคำ�  สรา้ งภาษา จินตนาการโลกใหม่ออกมาไดด้ ว้ ยตนเอง
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65