Page 61 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 61

การส่ือสารชมุ ชนกบั การพฒั นาการเมืองชุมชน 6-51
       โรดิเกซ ยังได้อธิบายว่าสื่อภาคประชาชนหรือส่ือพลเมือง ท่ีสร้างการมีส่วนของผู้คนอย่างสูง
ยังมีศักยภาพในการเข้าไป “แทรกแซง ก่อกวน” (Disrupt power relationship) ให้ความสัมพันธ์ทาง
อำ� นาจเดมิ ทไ่ี มเ่ ทา่ เทยี มกนั หรอื พลงั ของอำ� นาจเกา่ นน้ั สามารถสนั่ คลอนลงไดจ้ ากสอื่ เลก็  ๆ ขอ้ พจิ ารณา
อนั นห้ี ากลองนำ� มาขบคดิ ตอ่ เหตกุ ารณ์ เชน่ การแขวนปา้ ยผา้ หรอื ทงิ้ ใบปลวิ ของผทู้ เ่ี หน็ ตา่ งจากรฐั ในจงั หวดั
ชายแดนภาคใต้ การส่งสารในลักษณะนี้ ท�ำให้ทุกคนกลับไปคิดว่าใครท�ำ  สารหรือข้อความในป้ายผ้าจะ
บอกใคร บอกท�ำไม ท�ำให้เราสงสัยความสัมพันธ์ที่มีอยู่ในสังคมและสงสัยในตัวเราเอง เราจะต้องมองใน
เร่ืองนี้อย่างไร (อุบลรตั น์ ศิริยวุ ศกั ด์ิ, 2553)
       โรดเิ กซ ชวี้ า่ ทำ� ใหค้ นทสี่ อื่ สารมโี อกาสปฏบิ ตั กิ ารความเปน็ มนษุ ยป์ ถุ ชุ นเปน็ พลเมอื ง ทเี่ ปน็ Ac-
tive Citizen ท�ำให้เขาสามารถแสดงตวั ตนและความคดิ เหน็ ของเขาได้ แลว้ กก็ ลับไปสรา้ ง “สื่อ” ขึน้ มา
ใหมส่ รา้ ง “โลกสญั ญะ” ลกั ษณะใหมท่ เ่ี กดิ ขน้ึ ในตวั เขาไดเ้ รอ่ื ยๆ และกไ็ ดส้ รา้ งขนึ้ มาใหมส่ รา้ งไดด้ ว้ ยตนเอง
สรา้ งโดยชวี ติ ในปจั จบุ นั และอนาคต รวมทงั้ วฒั นธรรมดว้ ย ซง่ึ โรดเิ กซ ใหน้ ยิ าม ตคี วามตรงนม้ี คี วามนา่
สนใจ มีประโยชน์ มคี วามลกึ ซ้งึ มมี ิติคณุ คา่ ในการสือ่ สารอย่างมาก
       ขอ้ สังเกตของอุบลรตั น์ ศิรยิ วุ ศกั ด์ิ ต่อความแตกตา่ งระหว่าง “สือ่ ประชาชน” (People Media)
กับ “ส่ือพลเมือง” (Citizen Media) เปน็ อยา่ งไร ก็พบว่า “สอ่ื ประชาชน” (People Media) ใชค้ ำ� ท่ีมี
ความหมายกวา้ ง แต่ “ส่ือพลเมอื ง” (Citizen Media) จะเป็นรายบุคคลซึ่งมคี วามหมายแคบกวา่ มมี ิติ
ระดับบุคคลรวมถึงกฎหมายในการรองรับสถานะของบุคคลในฐานะของรัฐ มีมิติพลเมืองในทางกฎหมาย
กำ� กบั ดว้ ย แตก่ ค็ รอบคลมุ ไปถงึ พฤตกิ รรมของการเปน็ “พลเมอื ง” ท่ี “ตนื่ ร”ู้ (Active Citizen) ในฐานะ
สมาชิกท่ตี น่ื ตัวทางการเมืองอกี ด้วย ขณะท่ี “สือ่ ประชาชน” (People Media) นั้นครอบคลมุ ไปสบู่ คุ คล
ทอี่ ยนู่ อกกรอบนอกระบบไมไ่ ดถ้ กู สงั คมรบั รองวา่ เปน็ “พลเมอื ง” ของสงั คมนน้ั สอ่ื ประชาชนจะเปน็ ปากเสยี ง
ของคนทอ่ี ยนู่ อกระบบนอกกระแสทค่ี นสว่ นใหญไ่ มย่ อมรบั เชน่ คนชายขอบทยี่ งั ไมไ่ ดร้ บั สถานภาพความ
เป็นพลเมืองของประเทศ ในกรณีของกลุ่มคนไร้รัฐไร้สัญชาติ ก็สามารถใช้สื่อในการขับเคล่ือนเพ่ือให้รัฐ
ยอมรับสถานภาพความเป็นพลเมือง เปน็ ต้น

2.	 พื้นท่ีสาธารณะเสมือน (Virtual Public Sphere)

       การเกิดข้ึนของ “ส่ือใหม่” (New media) จากการพัฒนาเทคโนโลยีการสื่อสารใหม่ท่ีสามารถ
เอาชนะข้อจ�ำกัดทางด้าน “พ้ืนที่” (Space) และ “เวลา” (Time) เป็นปัจจัยส�ำคัญที่ก่อให้เกิด “พ้ืนที่
สาธารณะในโลกเสมือน” (Virtual public sphere) คณุ ลักษณะส�ำคญั อนั นีท้ �ำให้รูปแบบของการส่ือสาร
นน้ั กา้ วไปไกลกวา่ ความกงั วลเรอื่ งการสื่อสารแบบเห็นหนา้ เหน็ ตากนั (Face to face communication)
ในแบบเดิม พ้ืนที่แบบใหม่น้ียังคงคุณลักษณะของการสื่อสารแบบต้นฉบับเดิมไว้ทุกประการ โดยมี
เทคโนโลยีของการสื่อสารเข้ามาแทรกกลาง อย่างไรก็ดียังสามารถท่ีจะสร้างความเป็น “พื้นท่ีสาธารณะ”
ไวไ้ ด้ทุกประการ

       เครือข่ายของการสื่อสารใหม่น้ีโยงใยถึงกันท่ัวโลก ก่อให้เกิดชุมชนขนาดใหญ่ตามค�ำท�ำนายอัน
แหลมคมน้ี อนั กอ่ ใหเ้ กดิ “พนื้ ทเ่ี สมอื น” (Virtual Space) และ “ชมุ ชนเสมอื น” (Virtual Community)
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66