Page 63 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 63

การสอ่ื สารชมุ ชนกับการพฒั นาการเมืองชุมชน 6-53
       นอกจากน้ียังช่วยให้มีการประท้วงแบบ Part-time สามารถด�ำเนินไปได้อย่างต่อเนื่องโดยท่ี
ไมต่ อ้ งอทุ ศิ เวลาของตนเขา้ รว่ มในการประทว้ งไปเสยี ทง้ั หมด อกี ทงั้ ยงั เปน็ แรงสนบั สนนุ อสิ ระของผทู้ เ่ี หน็ อก
เห็นใจการเคลื่อนไหว อาจเป็น “แนวร่วม” ในอีกซีกโลกหนึ่งท�ำงานผ่านแพลตฟอร์มที่เป็นอิสระและ
หากมขี ้อมลู ทีน่ า่ เชือ่ ถือ เช่น ทวติ เตอร์ @jan25voices เคยทำ� หนา้ ทเ่ี ป็นตวั กลางในการสนับสนนุ ข้อมูล
การปฏวิ ตั ใิ นอยี ปิ ต์ โดยเขาเปน็ เพยี งคนธรรมดาจากอกี ซกี โลกหนงึ่ ทอ่ี ยากมสี ว่ นรว่ ม อทุ ศิ ตวั เพอ่ื คดั กรอง
ขา่ วสารทน่ี า่ เชอ่ื ถอื สนบั สนนุ ในการเคลอื่ นไหวและเปน็ “แนวรว่ ม” อสิ ระโดยทไ่ี มม่ สี ายสมั พนั ธก์ บั ตน้ ทาง
ของการปฏวิ ตั เิ ลยและเปน็ ผมู้ ใี จในการทจ่ี ะชว่ ยรกั ษาโมเมนตมั ของการตอ่ สนู้ ใี้ หค้ งอยตู่ อ่ ไป อยา่ งไรกต็ าม
ความกระตอื รอื รน้ ในโลก “ออนไลน”์ จะยงั ไมเ่ ปน็ ผลสมั ฤทธทิ์ แี่ ทจ้ รงิ หากยงั ไมผ่ สานกบั การเคลอื่ นในโลก
“ออฟไลน”์ ได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
       จากตัวอย่างข้างต้นจึงพอที่จะเป็นข้อสังเกตว่าข้อเสนอของ มานูเอล คาสเทล ในประเด็นของ
ความสมั พนั ธท์ างอำ� นาจในโลก “สงั คมเครอื ขา่ ย” (Network Society) มลี กั ษณะทางสงั คมทเี่ ปลยี่ นแปลง
ไปจากโลกทางกายภาพอยา่ งสน้ิ เชงิ รวมถงึ ความเปลย่ี นแปลงของความสมั พนั ธเ์ ชงิ อำ� นาจทมี่ รี ปู แบบใหม่
อีกด้วย จึงเป็นเร่ืองที่จะต้องศึกษาเพิ่มเติมว่าปรากฏการณ์ในโลกของเครือข่ายเช่นนี้จะสร้างความ
เปลี่ยนแปลงใดได้อกี ในอนาคต

3.	 การส่ือสารท้องถิ่น/สื่อพ้ืนบ้าน

       การส่อื สารในพน้ื ท่สี าธารณะ หากอา้ งองิ ตามตัวแบบของฮารเ์ บอร์มาส ก็จะพบว่าการถอื กำ� เนดิ
ของพนื้ ทเี่ หลา่ นี้ เปน็ อาณาบรเิ วณทม่ี ี “จรติ ” แบบ “ชนชน้ั กลาง” โดยเปน็ พนื้ ทท่ี างวฒั นธรรมของชนชนั้
เหลา่ นน้ั ตดิ มาดว้ ย อยา่ งไรกต็ ามโลกยคุ ใหม่ มไิ ดม้ แี ตช่ นชนั้ กลางแตเ่ พยี งอยา่ งเดยี ว รวมถงึ การดำ� รงอยู่
ของชนชน้ั ลา่ งทม่ี จี ำ� นวนมากมายมหาศาล การทจ่ี ะประยกุ ตแ์ นวคดิ นใ้ี หแ้ ผข่ ยายกวา้ งไกลออกไปสชู่ นชน้ั
ท่ีด้อยโอกาสมากกว่าและต้องการการส่งเสริมแนวคิดทางการเมืองแบบประชาธิปไตย ซึ่งต้นทุนเดิมของ
การส่ือสารแบบเห็นหน้าเห็นตา การส่ือสารอย่างใกล้ชิดและอภิปราย ก็เป็นวัฒนธรรมที่ด�ำรงอยู่ใน
วัฒนธรรมแบบชาวบ้านเช่นกัน

       การปรบั แปลงแนวคดิ ดงั กลา่ วจงึ เปน็ แนวคดิ ทน่ี า่ สนใจและทา้ ทายตอ่ การประยกุ ตใ์ ชใ้ นการพฒั นา
ชุมชน แต่อาจจะต้องมีการศึกษาเปรียบเทียบคุณลักษณะบางประการ รวมถึงการเพ่ิมเติมคุณลักษณะ
เฉพาะของสอ่ื ท้องถิน่ หรอื ส่ือพ้ืนบา้ นเข้าไป เช่น ความเปน็ พิธีกรรม อารมณ์ความรูส้ ึก ความสนุกสนาน
ซ่ึงอาจจะมีคุณลักษณะทางเหตุผลน้อยกว่าข้อเสนอของฮาเบอร์มาส แต่อาจบรรลุบางประการที่มากกว่า
แนวคดิ แบบเดมิ กเ็ ป็นได้ ซึง่ ท้าทายต่อการศกึ ษาคน้ ควา้ ตอ่ ไป
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68