Page 59 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 59
การสอื่ สารชุมชนกบั การพัฒนาการเมืองชมุ ชน 6-49
เร่ืองท่ี 6.2.3
บทบาทของการส่ือสารภาคพลเมืองกับการพัฒนาการเมืองของชุมชน
ข้อท้าทายใหม่ของการส่ือสารภาคพลเมอื ง ทถ่ี อื ก�ำเนิดในยคุ ของสื่อใหม่ ท่ขี ยายตัวมาพร้อมกบั
ระบบอินเทอรเ์ นต็ ได้สร้างรปู แบบของการส่ือสารแบบใหม่ๆ มากมาย รวมไปถึง สรา้ งสายสัมพนั ธแ์ บบ
ใหม่ หรอื ชุมชนแบบใหมๆ่ นอกเหนอื จากชมุ ชนทางกายภาพท่คี ุ้นเคย เช่น การเกิดข้ึนของผู้รับสารแบบ
เฉพาะกล่มุ หรอื กลมุ่ แฟนคลับ เปน็ ตน้
ความส�ำคัญของ “พื้นที่สาธารณะ” ตามข้อเสนอของฮาเบอร์มาสดังที่ได้กล่าวไว้ในข้างต้นนั้น
มรี ปู แบบทเี่ ขาไดเ้ สนออยู่ 2 แบบดว้ ยกนั กค็ อื “การสอื่ สารแบบเหน็ หนา้ เหน็ ตาเฉพาะภายในกลมุ่ ” (Group
communication) กบั “การส่อื สารมวลชน” (Mass communication) ซึง่ อา้ งอิงตามบริบทรอบตัวของ
เขาในขณะนนั้ ในการทำ� หนา้ ทเ่ี ปน็ ชอ่ งทางการรบั สง่ ขอ้ มลู ขา่ วสาร รวมถงึ การแสดงออกตา่ งๆ ในพ้ืนท่ี
สาธารณะ เราจงึ พบบทบาทของการสอื่ สารรปู แบบใหมใ่ นการสรา้ งพน้ื ทส่ี าธารณะ เนอื่ งจากมอี งคป์ ระกอบ
ของการเป็นพื้นท่ี “ปลอดอ�ำนาจ” จากรัฐและทุน ซ่ึงมีอยู่ 3 รูปแบบก็คือ ส่ือทางเลือก (Alternative
media) พื้นที่สาธารณะเสมอื น (Virtual public sphere) การส่อื สารทอ้ งถิน่ /สอื่ พนื้ บา้ น (ดู กาญจนา
แกว้ เทพ, 2551: 387) ซึง่ ควรน�ำมาพจิ ารณาควบคู่ไปกับบทบาทของการพัฒนาการเมอื งของชมุ ชน
1. บทบาทของส่ือทางเลือก (Alternative media)
อบุ ลรตั น์ ศริ ยิ วุ ศกั ดิ์ (2550) กลา่ วถงึ “สอื่ ทางเลอื ก” วา่ คอ่ นขา้ งเปน็ เรอื่ งใหมใ่ นดา้ นการสอ่ื สาร
ศกึ ษา โดยสว่ นใหญเ่ ปน็ สอ่ื มหี ลากหลายประเภทมหี ลายกลมุ่ มหี ลายบรบิ ท หลายสถานการณ์ ซงึ่ เปน็ สอ่ื
ที่มีเป้าหมายชัดเจนในการใช้สิทธิในการแสดงความคิดเห็นต่างๆ ดังน้ัน จึงมีชื่อเรียกหลายชื่ออย่างเช่น
สอ่ื ประชาชน–สอื่ ทางเลอื ก โดยนยั ของความหมายจงึ พอทจ่ี ะทำ� ใหเ้ ขา้ ใจไดว้ า่ เปน็ สอื่ ทไ่ี มใ่ ชส่ อ่ื กระแสหลกั
ไมใ่ ชส่ อ่ื ขนาดใหญ่ ตอ้ งการนำ� เสนอทมี่ คี วามแตกตา่ งแบบถอนรากถอนโคน เสนอแนะภาษาและความคดิ
ที่แตกต่างไม่เหมือนสื่อกระแสหลัก โดย “สื่อทางเลือก-สื่อพลเมือง” ในปัจจุบัน อาจมีความคุ้นเคย
มากขนึ้ ในสงั คมไทย เพราะสอ่ื สาธารณะอยา่ งสถานไี ทยพบี เี อส (Thai PBS) กม็ ชี ว่ งเวลาของการรายงาน
ข่าวทีเ่ รยี กว่าชว่ ง “นักขา่ วพลเมอื ง”
นอกจากน้ี เมื่อพิจารณาความหมายของสื่อท่ีมีลักษณะใกล้เคียงกัน ก็สามารถท่ีจะพิจารณาได้
จากเป้าหมายและวตั ถปุ ระสงคท์ างการสือ่ สาร เชน่
“สื่อท่ีต้องการให้มีส่วนร่วม” มาจากแนวคิดของประชาธิปไตยแบบมสี ่วนร่วมก็จะตอ้ งประยุกต์
และปรับวิธคี ดิ มาเป็นสอื่ แบบทีม่ สี ว่ นร่วมเชน่ เดียวกนั
“ส่ือชุมชน” มขี นาดเนอื้ เรอ่ื ง มเี นอื้ หาทเี่ กยี่ วโยง เกยี่ วเนอื่ งกบั ชมุ ชน บรหิ ารจดั การเองได้ อาจ
จะมขี นาดใหญห่ รอื ขนาดเลก็ ก็แล้วแต่ทจ่ี ะออกแบบ แต่ว่าใกลช้ ดิ เกยี่ วโยงกับชุมชน