Page 57 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 57
การสอ่ื สารชมุ ชนกบั การพฒั นาการเมอื งชมุ ชน 6-47
ประชาสังคมและภาคอ่ืนๆ มีส่วนในการเป็น “ตัวกลาง” ของการแก้ไขความขัดแย้งทางผลประโยชน์ท่ี
ไมล่ งรอยกนั ในทางหนง่ึ ขอ้ เสนอนร้ี ะบวุ า่ ภาคการเมอื งจะตอ้ งเปดิ ตวั เอง รองรบั และสอื่ สารกบั สงั คม อยา่ ง
หลีกเล่ยี งไม่ได้
3) ประชาสังคมจะด�ำรงอยู่ได้ จะต้องมีแนวคิดเรื่องสิทธิและระบบที่แข็งแรงมารองรับ ตัวช้ีวัดที่
จะบอกว่าประชาสังคมจะมีการพัฒนาก็คือ ระบบสิทธิได้รับการพัฒนาตามมาด้วย คือ ประเด็นสิทธิส่วน
บคุ คล สทิ ธใิ นการเลอื กตง้ั ชว่ ยเปน็ กลไกทคี่ อยกำ� กบั ทศิ ทางของประชาสงั คมสมยั ใหม่ ซงึ่ มรี ะบบประชาธปิ ไตย
แบบมสี ว่ นรว่ ม (Participatory Democracy) หรอื ประชาธปิ ไตยแบบไตรต่ รอง (Deliberative Democracy)
ฮารเ์ บอร์มาส มมี ุมมองต่อประชาธิปไตยที่ดี เขายอมรับความจำ� เป็นของแต่ละภาคส่วนทต่ี า่ งจะ
ตอ้ งมเี หตผุ ล (Rational) และปฏบิ ตั กิ าร (Action) ทแ่ี ตกตา่ งกนั ไป อยา่ งไรกด็ ี ในแตล่ ะภาคสว่ นคอื ภาค
ประชาชน องคก์ ารพฒั นาเอกชน ขบวนการเคลอ่ื นไหวทางสงั คมใหม่ ควรตอ้ งยอมรบั กฎกตกิ าทตี่ กลงกนั
ผ่านการส่อื สารภาคสาธารณะมากขนึ้ (ธีรยุทธ บุญมี, 2547)
ประเด็นส�ำคัญของ “พ้ืนท่ีสาธารณะ” ต่อการเมืองก็คือ การได้มีพื้นที่ให้ตัวแสดงการเมือง
(Political Actor) ได้มีโอกาสได้ท�ำกิจกรรมทางการเมืองที่สามารถจะแสดงออกถึงอ�ำนาจได้สมความ
ปรารถนาทางการเมืองของตน นัยหน่ึงก็เพ่ือสร้างความต้องการให้เกิดยอมรับในสังคมการเมือง โดย
“พื้นท่ีสาธารณะ” ในปัจจุบันสามารถมีได้หลายลักษณะ คือ ทั้งท่ีเป็นพ้ืนท่ีในเชิง “กายภาพ” หรือเป็น
พ้ืนท่ี “เสมือนจรงิ ” (Virtual space) โดยจะต้องมีคุณลกั ษณะทส่ี �ำคญั กค็ อื สามารถท่จี ะแสดงออกความ
คดิ ทางการเมืองไดอ้ ย่างเป็นอิสระ (ดู ณรงค์ บุญสวยขวัญ, 2552: 52–53)
เชน่ เดยี วกบั คำ� อธบิ ายทสี่ ำ� คญั ของฮาเบอรม์ าสตอ่ พน้ื ทสี่ าธารณะกค็ อื การสรา้ งสงั คมทป่ี ลดปลอ่ ย
มนุษยไ์ ปสเู่ สรีภาพอยา่ งแท้จรงิ แต่หากจะมกี ลวิธใี ดทจ่ี ะสามารถสร้างพื้นทีเ่ ช่นนี้ให้เกิดข้นึ มาได้ โดยเขา
ได้เสนอแนวทางขึน้ มา 4 ประการคอื (ดู กาญจนา แกว้ เทพ, 2551: 384)
1) สร้างพ้ืนที่สาธารณะข้ึนมาอย่างหลากหลาย เพื่อเป็นหลักประกันว่าทุกกลุ่มผลประโยชน์จะ
สามารถเข้าถึงและใชป้ ระโยชน์พ้นื ทีน่ ไ้ี ด้
2) ต้องเปน็ พน้ื ทีท่ ขี่ อ้ มูลขา่ วสารสามารถทีจ่ ะไหลเวยี นได้อยา่ งเต็มที่ ดังน้นั การสร้างพน้ื ทเ่ี ช่นนี้
จะตอ้ งปลอดจากอทิ ธพิ ลของรฐั และทนุ รวมถงึ การกอ่ ตง้ั ผา่ นองคก์ รหรอื สถาบนั ทมี่ โี ครงสรา่้ งแบบขา้ รฐั การ
3) พนื้ ทน่ี จ้ี ะตอ้ งเออื้ ใหเ้ กดิ ปฏบิ ตั กิ ารหรอื การกระทำ� เชงิ การสอื่ สาร (Communicative Action)
โดยมีเป้าหมายท่ีส�ำคัญของการสร้างส�ำนึกใหม่ท่ีก้าวข้ามความเป็นปัจเจก แต่สร้างส�ำนึกของพลเมืองใน
การมี “จิตสาธารณะ”
4) พ้ืนท่ีนี้จะต้องสร้างสมดุลของ “คุณภาพของวาทกรรม/การสื่อสาร” กับ “ปริมาณของการมี
สว่ นรว่ ม” หากมอี งคป์ ระกอบทสี่ มบรู ณจ์ ะเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพในการเปน็ สอื่ กลางสำ� หรบั การมสี ว่ นรว่ ม ซง่ึ
สามารถออกแบบไดห้ ลากหลาย เชน่ เวทปี ระชาคม ประชาพจิ ารณ์ ทวี ีชุมชน วทิ ยชุ มุ ชน สื่อชมุ ชน ฯลฯ
นธิ ิ เอยี วศรีวงศ์ (2551 ดใู น ณรงค์ บุญสวยขวัญ, 2552, เร่ืองเดียวกัน) อธบิ ายถงึ ลกั ษณะของ
พ้ืนท่ีทางการเมืองว่าจะต้องเป็นพื้นท่ีของภาคพลเมืองท่ีสามารถเข้าไปใช้ท�ำกิจกรรมตามสิทธิ์ของตนใน
หลากหลายด้าน เช่น กจิ กรรมส่งเสรมิ การเมือง การกดดนั ประทว้ ง การเขา้ ไปต่อรองนโยบายสาธารณะ
โดยเสนอกลไก 7 ประการดงั นี้