Page 52 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 52
6-42 ความรูเ้ บื้องต้นการสือ่ สารชุมชน
ตดั สนิ ใจ” และการน�ำไปสผู่ ลของการปฏบิ ัติ ผลผลิตของระบบการเมืองคอื ปัจจัยนำ� ออก (Output) หรือ
ในทางรปู ธรรมก็คือ “นโยบายสาธารณะ” (Public policy) ก่อนจะผา่ นการประเมินผลและส่งกลับเข้าสู่
ระบบในฐานะปัจจัยแวดล้อม โดยน�ำเข้าสู่ระบบการเมือง ในรูปแบบของความต้องการ (Demand) และ
การสนบั สนนุ (Support) ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งระบบการเมอื งและปจั จยั สงิ่ แวดลอ้ ม แสดงใหเ้ หน็ วา่ นโยบาย
ต่างๆ ท่อี อกมาจากรัฐนนั้ คอื ผลผลติ ของระบบการเมือง ซง่ึ จำ� เดินไปไดอ้ ย่างตอ่ เนือ่ ง
จากการทำ� ความเขา้ ใจระบบการเมอื งผา่ นแบบจำ� ลองของ “อสี ตนั ” อนั นจี้ ะเหน็ ไดว้ า่ การสง่ ปอ้ น
ขอ้ มลู ขาเขา้ ขาออก ความตอ้ งการ (Demand) การสนบั สนนุ (Support) และกระบวนการตดั สนิ ใจ ลว้ น
มีการสื่อสารเข้าไปเกี่ยวข้องด้วยท้ังส้ิน โดยท�ำหน้าท่ีอันส�ำคัญราวกับประหนึ่งกับ “เส้นประสาท” ท่ีมี
บทบาทในการโยงใยชวี ติ และความร้สู ึกของระบบการเมอื งเข้าไว้ด้วยกัน แบบจ�ำลองของอีสตนั จึงช่วยให้
เราสามารถประยุกต์เข้ากับการท�ำความเข้าใจ การเมืองในระดับชุมชน รวมถึงความต้องการและสภาพ
แวดล้อมที่จะเปน็ ปจั จัยขาเข้าในระดบั ชุมชนอกี ด้วย
ข้อ ความต้องการ สภาพแวดลอ้ ม การตัดสินใจ ขอ้
มลู ระบบการเมอื ง การกระทำ� มูล
ขา ขา
เขา้ ออก
การสนับสนนุ
ผลสะท้อนกลับ
สภาพแวดล้อม
ภาพท่ี 6.1 แบบจ�ำลองระบบการเมือง Political System) ของ เดวิด อีสตัน
ท่ีมา: David Easton. (1965).
ปรัชชา เวสารัชช์ (2549) อธิบายว่า การเรียนรู้ทางการเมืองท่ีดีย่อมขึ้นอยู่กับการสื่อสารทาง
การเมอื งในรปู แบบตา่ งๆ ทถี่ กู จดั ขน้ึ โดยองคก์ รทางการเมอื งอนั หลากหลาย ซง่ึ อาจเปน็ รฐั บาล กลมุ่ บคุ คล
หรือบุคคลต่างๆ ผ่านกิจกรรมทางการเมืองที่ครอบคลุมในวิถีชีวิตทุกๆ ด้าน ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า “ชีวิต
การเมอื งกค็ อื การสอื่ สารทเี่ กดิ ขนึ้ ระหวา่ งตวั แสดงทางการเมอื งหรอื สมาชกิ ทางการเมอื ง” โดยมี “แกน่ แกน”
ที่ส�ำคัญก็คือการแลกเปล่ียนข่าวสารทางการเมือง ดังนั้นการสังเกตพฤติกรรมทางการเมืองจึงสามารถ
พิจารณาไดจ้ ากการไหลของข่าวสารและเนอื้ หาสารไดอ้ กี ด้วย