Page 50 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 50

6-40 ความรู้เบื้องต้นการสือ่ สารชมุ ชน
       การพัฒนาการเมือง คือการพัฒนาระบบบริหารและกฎหมาย เป็นแนวความคิดท่ีต่อเนื่องจาก

การสรา้ งชาติ ทแ่ี บ่งออกไดอ้ กี เป็น 2 รูปแบบคือ การสร้าง “สถาบนั ” และการสรา้ ง “พลเมอื ง” นั่นกค็ อื
การพฒั นาสถาบนั บรหิ ารและพัฒนาเคร่ืองมอื ของสถาบนั นไ้ี ปพรอ้ มๆ กัน คอื ระบบนติ ริ ฐั และการบริหาร
เพ่อื ด�ำรงความยุตธิ รรมของสงั คมและตอบสนองความตอ้ งการของประชาชนส่วนใหญ่

       การพัฒนาการเมือง เป็นเรื่องของการระดมพลและการมีส่วนร่วมทางการเมือง การมีสว่ นร่วม
ทางการเมอื งนนั้ เปน็ สง่ิ ทสี่ ำ� คญั อยา่ งมากตอ่ การเมอื งการปกครองสมยั ใหม่ ความหมายของการมสี ว่ นรว่ ม
ในทางการเมอื ง สอดรบั กบั แนวคดิ เรอ่ื งอำ� นาจอธปิ ไตยเปน็ ของประชาชน การมสี ว่ นรว่ มจะสรา้ งสำ� นกึ ใหม่
ของประชาชน ในการแสดงบทบาทในการควบคมุ กำ� กบั และตรวจสอบระบบการเมอื ง แนวทางการพฒั นา
ทางการเมือง คือ การส่งเสริมให้ประชาชนมีสว่ นรว่ มทางการเมืองอยา่ งกวา้ งขวางและท่วั ถงึ

       การพัฒนาการเมือง เป็นเรื่องของการพัฒนาประชาธิปไตย แนวคิดนี้สรุปอย่างชัดเจนว่า การ
พฒั นาทางการเมอื งคอื การพฒั นาระบบการเมอื งใหเ้ ปน็ ประชาธปิ ไตย ยง่ิ ระบบการเมอื งเปน็ ประชาธปิ ไตย
มากเท่าใด กย็ อ่ มแสดงว่ามกี ารพฒั นามากขึน้ เท่าน้นั

       การพฒั นาการเมอื ง เปน็ เรอื่ งของความมเี สถยี รภาพและการเปลย่ี นแปลงทเ่ี ปน็ ระเบยี บ แนวคดิ น้ี
สรปุ ใหเ้ ห็นไดว้ า่ เน้นไปทีก่ ารพจิ ารณาการมเี สถียรภาพทางการเมอื งปน็ สำ� คญั ซ่ึงเนน้ เจาะจงไปทร่ี ะบบ
การเมือง ท่ีมีการตรวจสอบและถ่วงดุลอย่างดี มีระบบที่ประชาชนส่วนใหญ่ให้ความเช่ือมั่น มีระบบของ
การส่งตอ่ และเปลีย่ นผา่ นอำ� นาจท่ตี ่อเนอ่ื งซ่งึ เป็นปัจจัยท่ีส�ำคัญตอ่ เสถียรภาพทางการเมืองของประเทศ

       การพัฒนาการเมือง เป็นเรื่องของการระดมพลและอ�ำนาจ แนวคิดนี้ระบุถึงความสามารถของ
ระบบการเมอื ง วา่ หากระบบการเมอื งใดสามารถทจ่ี ะระดมพลและอำ� นาจเพอ่ื ใชใ้ นการแกไ้ ขปญั หาไดอ้ ยา่ ง
มปี ระสทิ ธิภาพ สามารถใช้ประโยชน์จากทรัพยากรตา่ งๆ ท่มี อี ยู่ แจกแจงทรัพยากรทีม่ ีอยู่อย่างเป็นธรรม
โดยได้รับการสนบั สนุนจากประชาชนแล้ว ระบบการเมืองนัน้ ถอื ได้ว่าพฒั นาแล้ว

       การพฒั นาการเมอื ง เปน็ แงห่ นงึ่ ของกระบวนการเปลยี่ นแปลงทางสงั คม ดงั ทเ่ี ราไดก้ ลา่ วมาแลว้
ขา้ งตน้ วา่ การพฒั นาการเมอื งนนั้ เปน็ ปจั จยั หรอื ตวั แปรตน้ ในการกำ� หนดความเปลยี่ นทางเศรษฐกจิ ภายใต้
ตรรกะเชน่ เดยี วกนั กค็ อื การเปลยี่ นของการเมอื งหรอื พฒั นาการทางการเมอื ง จะสง่ ผลตอ่ การเปลย่ี นแปลง
ในมิติอืน่ คอื เศรษฐกจิ สงั คม วัฒนธรรมดว้ ย

       จากขอ้ เสนอวา่ ดว้ ยการพฒั นาทางการเมอื ง โดยเฉพาะขอ้ เสนอของ ลเู ซยี น พาย กพ็ บขอ้ สงั เกต
ว่า พัฒนาการทางการเมืองนั้นขึ้นอยู่กับบริบทท่ีส�ำคัญของสังคมก็คือ การเข้าสู่ความเป็นโลกสมัยใหม่
(Modernity) ซึ่งสามารถสังเกตได้ว่า ปัจจัยเรื่องการเป็นรัฐชาติสมัยใหม่ การเข้าสู่ความเป็นสังคม
อตุ สาหกรรม เปน็ ต้น กรณีเช่นนม้ี ีแนวโน้มทสี่ ำ� คญั อยา่ งหน่ึงก็คือ การ “ไม่ไวว้ างใจรัฐ” และเห็นวา่ รัฐท่ี
ดยี อ่ มไมแ่ ยกออกจากสงั คม ในอกี ด้านหนึ่ง ก็พยายามที่จะก�ำกับและควบคุมรัฐ ให้ก้าวไปสู่การปกครอง
โดยรัฐท่ีน้อยลง (Less Government) ที่จะให้ประชาชนและสังคมปกครองตนเองมากข้ึน (เสกสรรค์
ประเสริฐกลุ , 2551: 69)

       แลว้ กลไกชนดิ ไหน หรอื พลงั ชนดิ ใดทจี่ ะสามารถผลกั ดนั สงั คมไปสกู่ ารปกครองทนี่ อ้ ยลง ในกรณี
ของสังคมไทยนั้นพบว่า รัฐยังมีการปกครองแบบรวมศูนย์ ทั้งยังมีแนวโน้มที่จะรวมศูนย์มากข้ึนอีกด้วย
การต้องผจญกบั กระแสโลกาภิวตั น์ ทีเ่ ออื้ ใหร้ ฐั ต้องเดินตามแนวทางเศรษฐกิจแบบทุนนยิ ม ซงึ่ จำ� ต้องเอ้ือ
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55