Page 47 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 47

การสอ่ื สารชมุ ชนกับการพัฒนาการเมืองชุมชน 6-37

เรื่องที่ 6.2.1	
ความสัมพันธ์ของการสื่อสารกับการเมืองของชุมชน

       ตามที่ได้กล่าวไปก่อนหน้าน้ีในเรื่องที่แล้ว จะเห็นได้ว่าการเมืองภาคประชาชน ตามแนวคิดท่ี
เสกสรรค์ (2551) ได้เสนอไว้แสดงให้เหน็ ถงึ การเคล่ือนย้ายกระบวนทัศน์ (Paradigm Shift) จากการที่
เคยมองวา่ “รฐั เปน็ ตัวตงั้ ” (State Oriented) มาสกู่ ารเอาประชาชนเปน็ ตวั ตงั้ (People Oriented) เพอ่ื
ผลประโยชนข์ องสว่ นรวม โดยถอื เปน็ การเปลย่ี นแปลงครงั้ สำ� คญั ทกี่ า้ วออกจากแนวความคดิ แบบการเมอื ง
ฝ่ายซา้ ย ฝ่ายขวา ท่เี คยมอี ิทธพิ ลมากในยคุ สงครามเย็น

       นอกจากจะกลา่ วไดว้ า่ การเมอื งภาคประชาชน เปน็ สว่ นหนง่ึ ของระบอบประชาธปิ ไตยและถอื เปน็
กา้ วยา่ งทส่ี ำ� คญั ของพฒั นาการทสี่ ำ� คญั ของสงั คมไทย การเมอื งภาคประชาชน ซงึ่ ในหนว่ ยนหี้ มายถงึ ความ
ครอบคลมุ ถึงความเป็นการเมอื งในระดบั ชุมชนด้วย

       โดยท่ัวไปแล้วเม่ือพูดถึงการพัฒนาการเมือง ในการรับรู้โดยท่ัวไปก็มักคิดไปถึงการมีรัฐบาลที่ดี
และผนู้ �ำประเทศทีด่ ี ซึง่ ก็อาจจะมสี ว่ นถูกอยบู่ า้ ง อย่างไรกต็ ามแกน่ แกนของปัญหาการเมืองการปกครอง
หาไดอ้ ยทู่ ก่ี ารพฒั นาการเมอื งใดเปน็ พเิ ศษ หากแตอ่ ยทู่ ก่ี ารจดั ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งรฐั กบั สงั คม (เสกสรรค,์
เรอื่ งเดียวกัน)

การพัฒนาการเมือง

       ซามูเอล ฮันทิงตัน (Samuel Huntington) นิยามความหมายของการพัฒนาการเมือง คือ
กระบวนทฤษฎีท่ีมองว่าความสามารถที่ระบบการเมืองท�ำให้คนในสังคมสนับสนุนในกิจกรรมทาง
การเมือง และเพ่ือตอบสนองความต้องการของสังคม โดยการระดมทรัพยากรมนุษย์และทรัพยากร
ธรรมชาติเพ่ือตอบสนองต่อความต้องการของสังคมและเพื่อแก้ปัญหาต่าง ๆ ของสังคม โดยเปา้ หมาย
ของพฒั นาการทางการเมอื งคอื “การสรา้ งสถาบนั เพอื่ จดั ระเบยี บการมสี ว่ นรว่ มทางการเมอื ง” เปน็ สำ� คญั
ฮันทิงตัน พยายามท่จี ะแยกระหวา่ งคำ� วา่ การพัฒนาการเมอื งและการทำ� ใหท้ ันสมัยทางการเมืองคือ โดย
กล่าวว่า การท�ำให้ระบบการเมืองทนั สมัย (Political Modernization) น้นั จะท�ำใหก้ ลมุ่ ทางสังคมใหมท่ ่ี
มสี ำ� นกึ ทางการเมอื งและนำ� พาเขา้ สรู่ ะบบการเมอื ง ทจ่ี ะกอ่ ใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงในอนาคต (ดู ลขิ ติ , 2527)

       ลขิ ติ ธรี เวคนิ อธบิ ายความหมายของ การพฒั นาการเมอื ง (Political Development) วา่ เปน็
การพฒั นาการทางการเมอื งหลงั ยคุ อาณานคิ ม ทเี่ รมิ่ เกดิ ประเทศใหมๆ่ ซงึ่ ตอ้ งการกอ่ รา่ งและปรบั ปรงุ และ
ฟื้นฟูประเทศข้ึนมาใหม่หลังจากปลดแอกจากเจ้าอาณานิคมได้ส�ำเร็จ หากแต่ในช่วงของการเปลี่ยนเข้าสู่
เอกราชกลับพบว่ากลับมีปัญหาการแย่งชิงอ�ำนาจกันภายในเสียเอง ซ่ึงสะท้อนให้เห็นการเตรียมการใน
ระยะของการเปลีย่ นทไ่ี มด่ ีพอ รวมไปถึงขาดส่ิงทเ่ี รยี กว่า “การพัฒนาการเมือง” ด้วย

       ปรัชญา เวสารชั ช์ (2549) อธิบายว่า เปน็ ความพยายามในการปรบั ปรุงเปลยี่ นแปลงโครงสรา้ ง
และกระบวนการทางการเมอื ง ใหส้ ามารถแบง่ ปนั จดั สรรทรพั ยากรในสงั คมนนั้ อยา่ งทว่ั ถงึ โดยในเชงิ ระบบนน้ั
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52