Page 42 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 42
6-32 ความรเู้ บ้อื งตน้ การสื่อสารชมุ ชน
เรยี กรอ้ งรฐั ธรรมนญู จากรฐั บาลเผดจ็ การ นน้ั ถอื เปน็ หลกั ไมลท์ สี่ ำ� คญั ของการกอ่ เกดิ แนวคดิ การเมอื งภาค
ประชาชนเป็นสำ� คญั
การเคล่ือนไหวของแนวคิดนี้ตัวแปรที่ส�ำคัญที่ท�ำให้รากฐานความคิดนี้หย่ังรากลึกลงสู่สังคมไทย
กค็ ือการถอื ก�ำเนดิ ของ “องค์กรพัฒนาเอกชน” (Non – Government Organization) หรอื เรียกยอ่ ๆ
ว่า เอ็นจีโอ (NGO) กล่าวได้ว่า “องคก์ รพัฒนาเอกชน” ขยายตัวเป็นอยา่ งมากมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 20
โดยถือว่าเป็นส่วนหน่ึงของโลกาภิวัตน์และเสรีนิยมใหม่ที่สนใจสนับสนุนภาคประชาสังคม ซ่ึงส่วนใหญ่
ไดร้ ับการสนับสนนุ โดยแหล่งทนุ จากโลกตะวนั ตก (ดู เสกสรรค์, 2549: 73)
จากการสำ� รวจในหว้ งศตวรรษ 2540–2550 พบวา่ มอี งคก์ รไมแ่ สวงหากำ� ไรนม้ี ากถงึ กวา่ 50,000
องค์กรในประเทศไทย บทบาทขององค์กรเหล่าน้ีวางอยู่บนกรอบด้านการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ท�ำ
หนา้ ทปี่ ระหนงึ่ “คนกลาง” ระหวา่ งภาครฐั ทนุ ตลาด กบั กลมุ่ ประชาชนชนั้ รากหญา้ แนวทางของเอน็ จโี อ
ไทยสว่ นใหญใ่ นชว่ งตน้ คอื การดแู ลชมุ ชนและทอ้ งถนิ่ และพยายามทจี่ ะลดบทบาทของการพฒั นาโดยรฐั ลง
ในบริบทของสังคมไทยองค์กรเหลา่ น้ี แต่เดิมนั้นอาจไม่ได้สนใจการเมือง แตเ่ ม่อื ตอ้ งเผชญิ กับปญั หาของ
ชาวบ้านที่รับผลกระทบจากรัฐและทุน รวมถีึงเมื่อประชาชนออกมาเคลื่อนไหวเพ่ือต่อต้านอิทธิพลของรัฐ
และทนุ เอน็ จโี อบางกลมุ่ กไ็ ดเ้ ขา้ รว่ มและบางกลมุ่ กลายเปน็ แกนนำ� ในการเคลอ่ื นไหวของภาคประชาชนไป
โดยปรยิ าย (เสกสรรค์, เรื่องเดยี วกัน)
เสกสรรค์ (2551) วเิ คราะหพ์ ฒั นาการของการเคลอ่ื นไหวภาคประชาชน ภายหลงั การลม่ สลายของ
การตอ่ สใู้ นปา่ เขาของพรรคคอมมวิ นสิ ต์แหง่ ประเทศไทย ยงั พบบทบาทของ “กลุม่ ปญั ญาชนสาธารณะ”
เข้ามีบทบาทในการสนับสนุนการเมืองภาคประชาชนโดย ร่วมขับเคล่ือนกับกลุ่มนักการเมืองหัวก้าวหน้า
นกั ศกึ ษาและประชาชนในการรณรงคเ์ พอ่ื แกไ้ ขรฐั ธรรมนญู ปี 2521 คอื โครงการรณรงคเ์ พอื่ ประชาธปิ ไตย
(ครป.) ก่อนจะกลบั มามบี ทบาทในการตอ่ ตา้ นรฐั บาลสจุ นิ ดา ในปี 2535 ในดา้ นของปัญหาของเกษตรกร
ทไ่ี ดร้ บั ผลกระทบจากการพฒั นาของรฐั มาอยา่ งยาวนาน ไดเ้ กดิ การกอ่ ตวั ของ “สมชั ชาเกษตรกรรายยอ่ ย
ภาคอีสาน” (สกย.อ.) เพ่ือรวมตัวคัดค้าน พ.ร.บ. สภาการเกษตรแห่งชาติ ที่พวกเขาเห็นว่าเกื้อกูลต่อ
อุตสาหกรรมเกษตร ทีจ่ ะส่งผลให้เกษตรรายย่อยต้องลม้ ละลาย กระทง่ั ส่งผลต่อเนอื่ งมาสู่การเกิดขนึ้ ของ
“สมัชชาคนจน” ในปลายปี 2538 จนเข้ากดดันรัฐบาลบรรหาร ยาวนานถงึ 28 วัน โดยมีผเู้ ขา้ รว่ มกวา่
หมนื่ คน จาก 21 จังหวัดและเรียกรอ้ งอยา่ งต่อเนอ่ื งตอ่ รฐั บาลชวลติ ในปี 2540
ในหว้ งทศวรรษ 2530 เปน็ ตน้ มา องคก์ รพฒั นาเอกชน ขยายตวั ขนึ้ ทง้ั ในดา้ นปรมิ าณและคณุ ภาพ
การเกดิ ข้ึนของ “มูลนธิ ิชุมชนทอ้ งถ่ินพัฒนา” โดย ศาสตราจารยเ์ สนห่ ์ จามริก ในฐานะประธานคนแรก
แม้องค์กรน้ีไม่ได้เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวของภาคประชาชนโดยตรง แต่ก็มีบทบาทในการสนับสนุน
การศกึ ษาความยากจนและแนวทางการพฒั นาแบบทางเลอื กบนฐานคดิ ทอ้ งถนิ่ นยิ มและภมู ปิ ญั ญาในการใช้
ทรัพยากรอยา่ งย่ังยนื
วิกฤตเิ ศรษฐกจิ ในช่วงปี 2540 ภายใต้ขอ้ กำ� หนดของ “กองทนุ การเงินระหวา่ งประเทศ” (ไอเอม็
เอฟ) ในช่วงการฟืน้ ฟูเศรษฐกจิ คณะกรรมการรณรงค์เพ่ือประชาธปิ ไตย (ครป.) ไดอ้ อกคัดค้านแนวทาง
กระบวนการโลกาภวิ ตั นเ์ รยี กรอ้ งใหเ้ ปดิ เผยขอ้ มลู ทงั้ หมดทตี่ กลงกบั ไอเอม็ เอฟ รวมถงึ นโยบายเปดิ เสรใี น
ดา้ นตา่ งๆ กอ่ นจะกดดนั ใหร้ ฐั บาลยบุ สภาในปี 2543 นอกจากนยี้ งั มกี ารเกดิ ขนึ้ ของกลมุ่ ประชาธปิ ไตยเพอื่