Page 37 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 37

การสอ่ื สารชมุ ชนกับการพฒั นาการเมอื งชมุ ชน 6-27

เรื่องที่ 6.1.5	
ประชาสังคมและความเป็นพลเมือง

       จากการศกึ ษาพฒั นาการทางการเมอื งที่ “อำ� นาจ” ไดเ้ คลอื่ นยา้ ยจากชนชน้ั นำ� มาสภู่ าคประชาชน
ทำ� ใหเ้ หน็ ไดว้ า่ ผคู้ นสามญั ทรี่ วมตวั กนั เปน็ “ภาคประชาชน” ไดแ้ สดงบทบาทใหมๆ่ ในฐานะของตวั แสดง
ทางการเมอื ง (Political Actor) ทไี่ มใ่ ชร่ ฐั มากขนึ้ ในสว่ นนจี้ งึ จะเนน้ ไปทก่ี ารทำ� ความเขา้ ใจไปทแ่ี นวคดิ
ท่ีสนับสนนุ ตวั แสดงทางการเมอื งดงั กลา่ ว โดยจะกล่าวถงึ แนวคดิ “ประชาสงั คม” (Civil Society) และ
“ความเป็นพลเมอื ง” (Citizenship) ซึ่งมรี ายละเอยี ดดงั น้ี

ประชาสังคม: แนวคิดการลดอ�ำนาจของรัฐ

       แนวทางการลดบทบาทของรัฐอย่างกลุ่ม “พหุนิยมแบบอังกฤษ” ดังที่ได้กล่าวไปแล้วข้างต้นน้ี
ถอื ได้วา่ เปน็ พฒั นาการของพวก แองโกล แซกซอน ตั้งแต่ยคุ กลางที่พยายามสรา้ งบทบาทของสงั คมและ
ชมุ ชนเคียงคูก่ บั รัฐในการแก้ปญั หาสว่ นรวม แนวคิดท่ีพฒั นามากจากยโุ รปเชน่ น้ี พัฒนาและขยายตัวมาสู่
แนวความคิดที่ส�ำคัญอีกหน่ึงคือแนวคิดว่าด้วยเร่ือง “ประชาสังคม” (Civil Society) ท่ีมีการก่อตัวมา
ตงั้ แต่ ศตวรรษท่ี 15 เปน็ หว้ งเวลาทร่ี ฐั “กอ่ รปู ” ขน้ึ มาอยา่ งชดั เจนและคอ่ ยๆ แยกตวั เองออกมาจากสงั คม
รัฐเร่ิมผูกขาดในอ�ำนาจในการตัดสินใจเรื่องกิจการสาธารณะ มีแนวคิดรองรับอ�ำนาจอธิปัตย์ที่ไม่มีใครมา
แบง่ แยกไดแ้ ละเปน็ จดุ เรมิ่ ตน้ ของระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชยต์ อ่ จากยคุ กลางทอี่ ำ� นาจเคลอื่ นยา้ ยมาจาก
ศาสนจักร ประชาสงั คม จึงเร่มิ มคี วามหมายว่าคือสิ่งทไ่ี ม่ใชร่ ัฐและแยกออกจากรฐั

       “ประชาสังคม” มีความหมายแบบก�ำปั้นทุบดินก็คือ สิ่งที่ไม่ใช่รัฐ ความหมายทพ่ี วกเสรนี ยิ มใช้
กค็ อื ความเปน็ องคก์ ร สมาคม สถาบนั ชมุ ชน ทไ่ี มเ่ ปน็ สว่ นหนงึ่ ของรฐั มคี วามเปน็ อสิ ระจากรฐั พอสมควร
ไม่ยอมและไม่ชอบให้รัฐครอบง�ำ  ความหมายในลักษณะเช่นน้ียังมีนัยของการมอบอ�ำนาจให้ประชาสังคม
ช้นี �ำ  กำ� กับและควบคมุ รฐั ความชอบธรรมของรัฐกม็ าจากการยอมรบั ของภาคประชาสงั คมอกี ด้วย ขณะ
เดียวกันองค์กรเชน่ นี้จะต้องมคี วามหลากหลายและเปน็ อสิ ระพอสมควร

       ทมี่ าและการกอ่ เกิดของ “ประชาสังคม” นัน้ เกิดขึ้นภายหลังจากท่รี ฐั ได้มีบทบาทอ�ำนาจเฉพาะ
ตัวเกิดขึ้นแล้ว รวมถึงจะต้องมีการเกิดขึ้นของสังคมเมือง ชนช้ันกลาง ตลาดและระบบทุนนิยม เกิดข้ึน
ควบคู่เป็นบริบทก�ำกับอันส�ำคัญ โดยในระยะแรกคือการถือก�ำเนิดของพวกที่มีความสามารถและต้องการ
เป็นอิสระจากรัฐ อันได้แก่พวกที่อยู่เป็นชนชั้นกลางในเมือง ประชาสังคมในภาษาเยอรมันน้ันถูกถอดมา
จาก คำ� วา่ Bourgeois society ซง่ึ หมายถึงสังคมของคนเมือง (บรุ ชี น ตามทัศนะของ ปรดี ี พนมยงค)์
ทีค่ รอบคลมุ ความหมายของพวกชนช้ันกลางและกฎุมพอี ีกด้วย (ดู เอนก, น. 14) ส่งิ นไี้ ด้บง่ บอกวา่ ประชา
สงั คมในยโุ รปเมอ่ื แรกเกดิ ขนึ้ เกดิ ขน้ึ ในเมอื งทม่ี ชี าวเมอื งสว่ นใหญเ่ ปน็ ชนชนั้ กลาง ซง่ึ หมายถงึ พอ่ คา้ วานชิ
ช่างฝีมือ ปัญญาชน ทนายความ แพทย์และอาชีพอิสระทั้งหลาย ผู้คนเหล่าน้ีรวมตัวกันเพ่ือสร้างประชา
สงั คม
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42