Page 36 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 36

6-26 ความรู้เบอื้ งตน้ การส่ือสารชุมชน
ไม่ได้เป็นองค์กรท่ีแสวงหาก�ำไร เพราะมีแหล่งทุนในรูปของมูลนิธิคอยให้การสนับสนุนตัวโครงการ (ดู
นฤมล ทับจมุ พล, 2543: 88-89)

            ประการท่ีสาม กลุ่มรากหญ้าจะพยายามเสนอชุดทางเลือกบางประการ ในประเด็นที่กลุ่ม
ต้องการ ซง่ึ อาจเปน็ ขอ้ เสนอทีด่ ูทา้ ทายหรือขอ้ เสนอเชิงนโยบายทอี่ าศัยการโนม้ นา้ วเพือ่ การตัดสนิ ใจทาง
นโยบายของรัฐ ให้ปรบั แผนหรอื โครงการทเ่ี ปน็ ประโยชน์ตอ่ กลุม่ รากหญา้ เอง

       5)	 กระแสประชาสังคมหรือสังคมพลเมือง (Civil society) ประชาสังคม เป็นแนวคิดที่ส�ำคัญ
ต่อการท�ำความเข้าใจการเมืองภาคประชาชนยุคใหม่ว่า เป็นความสัมพันธ์กับ “สังคมการเมือง” ท่ีอาจ
เรียกได้วา่ เปน็ “ฝ่ายทส่ี าม” (Third Party) หรือ “แนวทางที่สาม” (Third Road) ท่มี ตี �ำแหนง่ แห่งที่
อยรู่ ะหวา่ งปจั เจกบคุ คล รฐั และระบบตลาด ในอาณาบรเิ วณของพน้ื ทส่ี าธารณะและชวี ติ สาธารณะทชี่ ดั เจน
(Robert Fine, 1997 ใน ณรงค์ บุญสวยขวญั ) ซ่ึงอาจกล่าวโดยสรปุ ตามแนวคดิ ของ Ferrer (1997 ใน
ณรงค์ บุญสวยขวญั ) เป็นสมการก็คอื องค์กรพัฒนาเอกชน × องค์กรประชาชน = องคก์ รประชาสงั คม
(NGOs × POs = Civil Society)

กิจกรรม 6.1.4	
       จงอธิบายพฒั นาการทางการเมืองจากชนชน้ั น�ำสภู่ าคประชาชน

แนวตอบกิจกรรม 6.1.4	
       นกั คิดสาย “พหุนิยมแบบองั กฤษ” (English Pluralist State Theory) ตง้ั ขอ้ วจิ ารณส์ ำ� คญั ตอ่

การมอี ยขู่ องรฐั ดว้ ยเหตนุ จี้ งึ ตอ้ งการลดขนาดและบทบาทของรฐั ลง โดยพยายามเสนอใหม้ กี ารรองรบั สทิ ธิ
และความชอบธรรมต่อสงั คม ชมุ ชนมากขนึ้
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41