Page 35 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 35

การส่อื สารชุมชนกบั การพฒั นาการเมืองชมุ ชน 6-25
       3)	 กระแสการเคลอ่ื นทางสงั คมรปู แบบใหม่ (New Social Movement) ไชยรตั น์ เจรญิ สนิ โอฬาร
(2540) ให้ความหมาย ขบวนการเคลื่อนไหวทางสงั คมแบบใหม่ วา่ ไม่เหมือนกับขบวนการปฏิวัติแห่ง
ชาติ ไม่ใช่พรรคการเมือง กลุ่มผลประโยชน์ นักการเมืองหรือภาคธุรกิจเอกชน แต่มีความเป็น
“ขบวนการ” ในสายการปฏิรูปท่ีเข้มแข็งหลากหลาย มคี วามเขา้ ใจในขอ้ จำ� กดั และเพดานของสถานการณ์
ทจี่ ะน�ำใหข้ บวนการสามารถบรรลผุ ลในการขบั เคลอื่ นนน้ั ยอมรบั และหาทางเคลือ่ นไหวเรยี กรอ้ งในระบบ
ทเ่ี ปน็ อยู่ เป็นขบวนการท่ียอมรับในความเป็นรฐั และชาติ โดยไมป่ ฏเิ สธเง่ือนไขเหล่านนั้
       ขบวนการเคล่อื นไหวแบบใหม่น้มี ีลกั ษณะส�ำคญั 5 ประการ ตามที่ ณรงค์ บญุ สวยขวญั (2547
และ 2549) รวบรวมไว้ก็คือ

            (1)	เป็นการเคล่ือนไหวโดยกลุ่มคนท่ีใช้พื้นที่ทางสังคมวัฒนธรรมเป็นเคร่ืองมือหรือใช้พื้นที่
เช่นน้ีเพื่อการมีส่วนร่วมในกิจการสาธารณะ รวมถึงมุ่งวิพากษ์ต่อการเมืองในระบบตัวแทนในระบบการ
เลอื กตง้ั

            (2)		มียุทธศาสตร์ของการให้ความส�ำคัญต่อการเคล่ือนไหว (Movement) ท่ีเป็นอิสระ
เป็นตวั ของตวั เอง มกี ารเชือ่ มโยงเครอื ขา่ ยโดยไม่ “รวมศูนย์” ของอำ� นาจในการเคลอื่ นไหว

            (3)		เปน็ ขบวนการทปี่ ฏเิ สธกระบวนการทนุ นยิ มและการถกู เอารดั เอาเปรยี บจากระบบทนุ นยิ ม
            (4)		ในการเคลอื่ นไหวของขบวนการ จะมกี ารชู “อัตลกั ษณ”์ ในการเคลอ่ื นไหว เนน้ ความ
ยุติธรรมทางเศรษฐกิจและสังคม แตกต่างจากขบวนการเคลื่อนไหวแบบเดิมที่มุ่งเน้นการเคล่ือนไหวเพื่อ
“ชนช้ัน” จึงกล่าวได้วา่ มกี ารเปลย่ี นจาก “อุดมการณ์” มาสู่ “อตั ลักษณ”์ (Ideology to Identity)
            (5)		เป้าหมายของการเคลอื่ นไหวแบบใหมน่ ตี้ ่อสาธารณะ เปน็ การน�ำเสนอให้สังคมได้เหน็
ความทกุ ขย์ ากรว่ มกนั ในประเดน็ สาธารณะทท่ี กุ คนตอ้ งเผชญิ อยแู่ ละมกั ชเู พยี งประเดน็ เดยี ว เชน่ ประเดน็
ชาตพิ นั ธุ์ เพศ ส่ิงแวดล้อม สันตภิ าพ สุขภาพ
       โดยในระดบั รายละเอยี ดจะไดก้ ลา่ วอกี ครง้ั ในสว่ นของ “ทศิ ทางการสอื่ สารทางการเมอื งของชมุ ชน”
       4)	 กระแสกลุ่มรากหญ้า/คนช้ันล่าง (Grass root organization) กลุ่มคนรากหญ้าเกิดมาจาก
การขาดการให้ความส�ำคัญและสนใจจากรัฐ หรือมีบางประเด็นท่ีถูกกดทับไว้ด้วยบรรทัดฐานทางสังคม
บางประการ จนก่อใหเ้ กดิ การเคลือ่ นไหวในระดับปัจเจกบุคคล แลว้ ขยายตวั ไปส่กู ารรวมตัวเปน็ กลุ่มกอ้ น
หรอื องคก์ ร เพอ่ื สะทอ้ นความเดอื ดรอ้ นใหร้ ฐั เขา้ มาใหค้ วามชว่ ยเหลอื จนเปน็ กลมุ่ ทเ่ี รยี กวา่ องคก์ รประชาชน
(People Organization: POs) และกลุ่มองค์กรพัฒนาเอกชน (Non Government Organization:
NGOs) โดยมลี ักษณะทีส่ ำ� คัญคือ
            ประการแรก ทา้ ทายอำ� นาจรฐั ในระดับชุมชนท้องถ่ินและระดับชาติ
            ประการท่ีสอง แม้ว่าท้ังสองกลุ่มจะมีความคล้ายคลึงกันมาก แต่จุดต่างของท้ังสองก็คือ
องคก์ รประชาชน มกั เปน็ การรวมตวั ในระดบั ทอ้ งถนิ่ ทม่ี ฐี านจากชมุ ชน สามารถทจี่ ะจดั ตง้ั สมาชกิ หรอื ระดม
สมาชกิ เพอื่ ประโยชนข์ องกลมุ่ อยา่ งไรกต็ าม กย็ งั มคี วามเปน็ องคก์ รทสี่ มั พนั ธก์ นั แบบหลวมๆ แบบองคก์ ร
เปดิ ตอ้ งการความเป็นอิสระโดยไม่ตอ้ งการถกู ควบคมุ จากรัฐ ในขณะที่กล่มุ องคก์ รพฒั นาเอกชน มีความ
เป็นอิสระจากรัฐ (สังเกตได้จากช่ือ) มีจุดมุ่งหมายในการท�ำงานเพื่อสาธารณะ มีการจัดการองค์กรอย่าง
เป็นระบบและทางการแบบมืออาชีพ มีคนท�ำงานท่ีเป็นท้ังแบบอาสาสมัครและแบบที่รับเงินเดือน แต่ก็
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40