Page 39 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 39
การสอื่ สารชุมชนกับการพฒั นาการเมืองชุมชน 6-29
สงั คมจะต้องด�ำรงอยคู่ วบคกู่ นั ไปอย่างไมแ่ ยกขาดออกจากกัน โดยผลประโยชนส์ ว่ นตัวนั้นยังคงมีได้ แต่
ต้องไม่ขัดกับผลประโยชนข์ องส่วนรวม
อยา่ งไรกต็ ามขอ้ เสนอการมองแบบเอนก (2556ก) ในระยะหลงั นำ� มาสกู่ ารมองนยิ ามความหมาย
ทางชุมชนใหม่ ท่ีเมืองก็ควรมีการสร้าง “ชุมชน” ซ่ึงเป็นการก้าวข้ามวิวาทะแบบคู่ตรงกันข้ามระหว่าง
ชมุ ชนซง่ึ เปน็ พน้ื ทท่ี างกายภาพ กบั ชมุ ชนทเ่ี กาะเกย่ี วความสมั พนั ธบ์ นฐานทางจติ ใจ เชน่ ชมุ ชนทางอากาศ
ชมุ ชนคนพลดั ถนิ่ หรอื ชมุ ชนทผี่ กู โยงขนึ้ บนความเชอ่ื มโยงในโลกออนไลน์ ซง่ึ มปี ระเดน็ ทจ่ี ะตอ้ งพจิ ารณา
กค็ ือ เม่ือมี “ตัวแปร” ของ “อ�ำนาจ” และ “การเมอื ง” เขา้ ไปเกยี่ วข้องกับความเป็นชุมชน รวมไปถงึ
ประเด็นการพฒั นาการเมอื งชุมชน ซงึ่ จะกลา่ วต่อไป
ความเป็นพลเมือง (Citizenship)
โดยสว่ นใหญเ่ รามกั คนุ้ เคยกบั การเรยี กสมาชกิ ของสงั คมวา่ ประชาชน (people) ราษฎร (subject)
และพลเมอื ง (citizen) ท่ีถกู นำ� มาใชร้ าวกบั วา่ เป็นค�ำคำ� เดยี วกัน ทัง้ ๆ ท่ีเมือ่ พจิ ารณาโดยละเอียดจะพบ
วา่ คำ� วา่ “ประชาชน” ทถ่ี อดความหมายมาจากคำ� วา่ People มคี วามหมายวา่ คนทไี่ มใ่ ชผ่ ปู้ กครอง (non–
ruler) โดยมบี รบิ ทสบื เน่อื งมาต้ังแค่ยคุ ศกั ดนิ า ทีป่ ระชาชนเปน็ ไพร่หรอื ทาส ท้ังหมด ผคู้ นมสี ถานภาพ
ทต่ี ่ำ� กวา่ ผู้ปกครอง เป็นข้าชว่ งใช้ของขุนนางหรอื เจา้ ของทดี่ ิน
เมอื่ การเมอื งสมยั ใหมไ่ ดป้ ลดปลอ่ ยผคู้ นจากไพรเ่ ปน็ ทาส ใหเ้ ปน็ เสรชี น ผา่ นการรบั รองสถานภาพ
โดยกฎหมายให้มีสิทธิเท่าเทียมกัน อดีตทาส ไพร่ ขุนนางและเจ้าของที่ดิน สถานภาพได้ถูกปรบั ใหเ้ ปน็
ชนชนั้ ใหมเ่ รยี กวา่ “ราษฎร” ทห่ี มายถงึ ผตู้ อ้ งทำ� หนา้ ทเี่ สยี ภาษใี หก้ บั รฐั และปฏบิ ตั ติ นตามกฎหมาย ขอ้ บงั คบั
ท่ีคอยก�ำกับอยู่ภายใต้รัฐนั้น ในตะวันตกการเปลี่ยนแปลงการปกครองให้เป็นระบอบประชาธิปไตย คือ
กระบวนการเปล่ียนราษฎรให้เป็น “พลเมือง” นอกเหนือจากท่ีก�ำหนดข้อตกลงเรื่องของภาษีและปฏิบัติ
ตามกฎหมายแล้วยงั ครอบคลุมไปถงึ “สทิ ธิตา่ งๆ ในการแสดงความคิดเหน็ ต่อบ้านเมอื ง” รวมถงึ กิจการ
อน่ื ๆ ของรัฐดว้ ย (ดู เอนก, เรื่องเดียวกนั )
ขอ้ พิจารณานจ้ี ะพบวา่ “ราษฎร” มีความหมายในเชิง “ตั้งรับ” ต่อเรื่องกิจการของรฐั ราษฎรท่ดี ี
ในความหมายเชน่ น้ี จึงหมายถึงผ้วู ่านอนสอนง่ายและเชอ่ื ฟงั รฐั ขณะที่ “พลเมือง” กลับมีความหมายใน
เชิง “รุก” ที่เป็นผู้ต่ืนตัวทางการเมือง ไม่มีความเฉ่ือยชา เป็นผู้อยากมีส่วนร่วม อยากช่วยเหลือท�ำงาน
ร่วมกับรัฐและมีสิทธิมีเสียงในการสร้างบ้านสร้างเมือง พฒั นาการทางการเมอื งของไทยต่อกรณนี จ้ี งึ พบ
วา่ การพัฒนาในประเด็นการสรา้ งความเปน็ “พลเมือง” น้ันยงั ไม่ไดร้ ับการสนับสนนุ มากนกั
อย่างไรก็ดี แนวคิดเร่ือง “ประชาสังคม” กลับมีข้อเด่นท่ีสามารถช่วยขับเน้นและสร้างความ
ตระหนักให้แก่ประชาชนว่าตนสมควรยกระดับขึ้นเป็น “พลเมือง” ที่สนใจความเท่าเทียมกันในทางสิทธิ
และเสรีภาพ รวมถึงความกระตือรือร้นในการมีส่วนร่วมทางการเมืองและการแก้ไขปัญหาทางสังคมและ
บา้ นเมอื ง แนวคดิ อนั นไ้ี ดต้ อกยำ้� ความหมายของคำ� วา่ “การเมอื ง” ใหม้ คี วามหมายทกี่ วา้ งขวางโดยกลา่ ว
ได้วา่ หมายถงึ กิจการเพื่อสว่ นรวม กิจการทีจ่ รยิ ธรรมเพอื่ ส่วนรวม แนวคดิ นไี้ ดถ้ กู รองรบั ไวโ้ ดยแนวคิด
เรอ่ื ง Civic Republicanism หรอื แนวคดิ สาธารณรฐั นยิ ม ทเี่ นน้ บทบาทของภาคพลเมอื ง อนั เปน็ ประเพณี
ของชาวยุโรปที่ในห้วงศตวรรษท่ี 14-16 ก่อนที่จะเข้ามาแทนท่ีโดยแนวคิดประชาธิปไตยสมัยใหม่ในห้วง