Page 43 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 43

การสือ่ สารชุมชนกบั การพัฒนาการเมืองชมุ ชน 6-33
ประชาชน (ป × ป) โดยอดตี ผนู้ ำ� นกั ศกึ ษาและนกั เคลอื่ นไหวยคุ 2516–2519 รว่ มกดดนั ใหร้ ฐั บาลยบุ สภา
เช่นกัน

       บรบิ ทส�ำคัญทเ่ี อ้ือให้การเคลอ่ื นไหวเช่นน้ีเติบโตงอกงามได้ในสังคมไทย ปจั จยั หนง่ึ ที่ส�ำคัญก็คือ
ผลผลิตของการปฏิรูปการเมืองโดยการเกิดข้ึนของรัฐธรรมนูญภาคประชาชน ปี 2540 น้ันถือได้ว่าเป็น
ครงั้ แรกทก่ี ฎหมายหลกั หรอื กฎหมายแมบ่ ทของชาติ ไดย้ อมรบั และเปดิ โอกาสใหป้ ระชาชนในระดบั รากหญา้
มีสทิ ธิ์ในการจดั ตั้ง รวมตวั และมสี ่วนร่วมทางการเมอื งอยา่ งชัดเจน ในการพทิ ักษ์และหวงแหนทรัพยากร
ทอ้ งถ่นิ ของตนตามแนวทางเคารพตอ่ สิทธขิ องชุมชน

       การเคลอ่ื นไหวของกลมุ่ ประชาชนระดบั รากหญา้ ไมไ่ ดห้ มายถงึ การเคลอ่ื นไหวเชงิ ตอ่ ตา้ นคดั คา้ น
ไปเสียทั้งหมด แต่ยังมีรูปแบบของการรณรงค์เพ่ือเสนอให้เพิ่มอ�ำนาจแก่ประชาชนในการดูแลตนเองของ
ประชาชนและลดอำ� นาจในการควบคมุ จากรัฐลง ดงั เชน่ ตัวอย่างการเคล่ือนไหว “ป่าชมุ ชน” ในเขตพืน้ ที่
ภาคเหนอื โดยกลมุ่ ชาวบา้ นหว้ ยแกว้ กงิ่ อำ� เภอแมอ่ อน จงั หวดั เชยี งใหม่ ทเี่ รม่ิ ขบั เคลอื่ นมาตง้ั แตป่ ี 2532
ในการคัดค้านการที่รัฐให้นักธุรกิจเช่าผืนป่าและเรียกร้องให้กรมป่าไม้มอบป่าให้ชาวบ้านดูแลในรูปของ
“ปา่ ชุมชน” ก่อนจะสร้างแรงกระเพอ่ื มไปสู่ชุมชนชายขอบทว่ั ประเทศ

       ความคกึ คกั ของการปฏริ ปู การเมอื ง ในหว้ งการเกดิ ขน้ึ ของรฐั ธรรมนญู ภาคประชาชน ปี 2540 ถอื
เปน็ “ยคุ ทอง” ของแนวคดิ กระแสรองทถ่ี กู นำ� มาใชใ้ นการศกึ ษาและอธบิ ายปรากฏการณท์ างสงั คม (ณรงค์
บญุ สวยขวัญ, 2552: 8) เช่นแนวคดิ เรอ่ื ง ประชาสังคม ทุนทางสังคม วฒั นธรรมชมุ ชน การเคล่ือนไหว
ชมุ ชนเขม้ แขง็ ขบวนการทางสังคม บรรยากาศเชน่ นไ้ี ด้เอ้ือใหส้ งิ่ ท่เี รยี กวา่ การเมืองภาคประชาชนนน้ั ได้
เตบิ โตงอกงามในสังคมไทยไดต้ ามสมควร

       เสกสรรค์ (2551) สรุปว่า นับต้ังแต่ปี 2523 ถึง 2543 สองทศวรรษน้ีการเคลื่อนไหวของภาค
ประชาชนได้เกิดข้ึนอย่างรวดเร็ว แทนท่ีการเคล่ือนไหวแบบขบวนการปฏิวัติที่ใช้อาวุธ โดยเมื่อเกิด
รฐั ธรรมนญู 2540 ทเ่ี ออ้ื ใหป้ ระชาชนสามารถทจ่ี ะจดั ตง้ั รวมตวั และมสี ว่ นรว่ มทางการเมอื งอยา่ งชดั เจน
และเปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร อยา่ งไรกด็ ี ขอ้ สงั เกตความแตกตา่ งของขบวนการเชน่ นน้ี น้ั เปน็ การเคลอ่ื นไหว
ของกลมุ่ ยอ่ ยทคี่ อ่ นขา้ งกระจดั กระจาย เปน็ ไปเองโดยไมม่ ศี นู ยบ์ ญั ชาการ เคลอื่ นไหวเฉพาะในเชงิ ประเดน็
เฉพาะเรื่อง (Issue based) มากกว่าที่จะยึดอ�ำนาจรัฐและเปลี่ยนแปลงไปสู่โครงสร้างใหม่ทั้งหมดแบบ
ขบวนการปฏิวตั ปิ ระชาชน

       การเคลือ่ นไหวการเมืองรูปแบบน้ียังสามารถแบง่ ออกไปไดอ้ ีกเปน็ 4 ทิศทาง คือ
       1)	 การเคล่ือนไหวรอ้ งทุกข์ เรยี กรอ้ งให้รฐั เข้ามาแกไ้ ขปัญหาทีแ่ ตเ่ ดมิ ไมไ่ ดร้ ับการเหลียวแล คือ
การเคลอ่ื นไหวเพอ่ื ขอใหร้ ฐั มาชว่ ยแกป้ ญั หาพนื้ ฐาน เชน่ ทดี่ นิ ทำ� กนิ ปญั หาหนสี้ นิ ปญั หาสงิ่ แวดลอ้ มและ
ราคาพืชผลทางการเกษตร ซงึ่ เปน็ การเคลอ่ื นไหวจากตัวเจ้าของปัญหาเอง
       2)	 การเคลอื่ นไหวทม่ี งุ่ ตรวจสอบกระบวนการใชอ้ ำ� นาจรฐั การเคลอื่ นไหวทศิ ทางนม้ี กั มสี ว่ นผสม
ของการเคลอื่ นของปญั ญาชนสาธารณะและองคก์ รประชาชนในเมอื งมากกวา่ ประชาชนในรากหญา้ ซง่ึ อาจ
ไม่ได้เป็นเจ้าของเรื่องโดยตรง แต่กลับรู้สึกรู้ร้อนรู้หนาวกับผลประโยชน์ของส่วนรวม ซึ่งอาจเรียกว่า
ประชาชนท่ี “ตนื่ รู้” ต่อปญั หาบ้านเมือง การเคล่ือนไหวในระดับนเี้ ปน็ การเคลื่อนไหวของ “คนเมือง” จึง
ค่อนข้างมีพลัง ไวต่อปัญหาและมีสายสัมพันธ์ท่ีดีกับส่ือมวลชน ซ่ึงจะช่วยให้ขยายการเคลื่อนไหวและ
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48