Page 53 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 53
การส่อื สารชุมชนกับการพฒั นาการเมืองชุมชน 6-43
การสอ่ื สารของระบบการเมอื งจึงเปรยี บไดก้ ับเส้นประสาทภายในร่างกาย ที่ส่งผา่ นขอ้ มูลต่าง ๆ
ไปยังสู่ส่วนกลางเพ่ือการตัดสินใจ ซงึ่ ขอ้ มลู ตน้ ทางที่แม่นย�ำถกู ตอ้ ง ย่อมสรา้ งการตดั สนิ ใจทถี่ กู ตอ้ งตาม
มา หรือหากมีข้อบกพร่องก็จะต้องส่งข้อมูลย้อนกลับเพื่อปรับปรุงแก้ไข ดังนั้นระบบการเมืองที่มี
ประสิทธิภาพจงึ ต้องการระบบการส่อื สารท่มี ปี ระสิทธภิ าพอยา่ งมากตามมาด้วย
ในแงน่ จ้ี งึ พบวา่ การพฒั นาทางการเมอื งไมว่ า่ จะเปน็ ในระดบั ใด ทงั้ ระดบั มหภาค ระดบั ชาติ หรอื
ระดับท้องถ่ิน/ชุมชน การท�ำความเข้าใจและพัฒนาระบบการสื่อสารทางการเมืองย่อมเป็นส่วนหนึ่งของ
การสร้างการพฒั นาการเมอื งดว้ ยเชน่ กัน
การเมืองและการส่ือสารภาคพลเมือง
การเรยี นรรู้ ะบบการเมอื งผา่ นแบบจำ� ลองของอสี ตนั (Easton) นน้ั ไดเ้ ปรยี บเทยี บความสำ� คญั ของ
การสอ่ื สารไดเ้ ทยี บเทา่ กบั “เสน้ ประสาท” ทโ่ี ยงใยชวี ติ ของระบบการเมอื งเอาไว้ ซงึ่ ในการศกึ ษาความหมาย
ของการเมืองในหน่วยน้ีเป็นการศึกษาท่ีกระบวนทัศน์เร่ืองการเมืองได้เคลื่อนย้ายมาสู่แบบภาคประชาชน
เปน็ ฐาน (People oriented) ความตอ่ เนอื่ งท่สี ำ� คญั ก็คอื การพยายามทำ� ความเขา้ ใจตอ่ การเมอื งของภาค
พลเมืองและการสือ่ สารทางการเมอื งของภาคพลเมืองด้วย
อย่างไรก็ตาม แม้ว่าการปกครองในระบอบประชาธิไตย ประชาชนมีสิทธิอันชอบธรรมและมีวุฒิ
ภาวะตามกฎหมายอันมีสิทธิในการเลอื กผู้กมุ อำ� นาจ แต่ก็พบวา่ ในความเปน็ จรงิ ผแู้ ทนปวงชนจากระบบ
การเมืองแบบตัวแทน ก็ไม่ได้ฟังเสียงของผู้ที่เลือกมา รวมถึงระบบการตรวจสอบถ่วงดุลอ�ำนาจที่ไม่มี
ประสทิ ธภิ าพมากเพยี งพอ เปน็ ผลจากการพฒั นาทางการเมอื งทย่ี งั ไมด่ พี อ ทงั้ การจดั สรรทรพั ยากรในทาง
เศรษฐกิจก็ไม่ได้มีความเท่าเทียมกันมากนัก ท�ำให้กระบวนการตัดสินใจของผู้กุมอ�ำนาจที่จะสนองความ
ต้องการของคน กลับได้สรา้ งความขัดแย้งกนั เองเต็มไปหมด
เสกสรรค์ วเิ คราะหว์ า่ แนวโนม้ ของผกู้ มุ อำ� นาจในรอบ 6 ทศวรรษทผี่ า่ นมา ไมว่ า่ จะพรรคการเมอื ง
ใด มแี นวคดิ คลา้ ยกนั คือ
1. เช่อื ถือในการขยายตวั ของระบอบทุนนยิ ม
2. ภารกิจหลกั อยทู่ กี่ ารสง่ เสริมการค้าการลงทนุ
การสรา้ งบรรยากาศให้ชาวตา่ งประเทศมาลงทุนในไทย ยิ่งเมอื่ หลังปี 2540 เม่ือกองทุนการเงิน
ระหว่างประเทศ (IMF) เสนอให้ประเทศไทยเปิดเสรีทั่วด้าน การเข้ามาลงทุนของต่างชาติได้รับการค้�ำ
ประกนั จากอำ� นาจรฐั ไทย ภารกจิ ของผใู้ ชอ้ ำ� นาจของรฐั ไทยคอื ถกู ทำ� ใหเ้ ปน็ ทางการใหร้ กั ษาชวี ติ และธรุ กจิ
แบบทนุ นยิ มรวมถงึ ผไู้ ดร้ บั ผลประโยชนจ์ ากทนุ นยิ ม เมอื่ มองอยา่ งเปน็ กลาง ระบบเศรษฐกจิ แบบทนุ นยิ ม
ไม่ได้เป็นความผิด หากแต่ท�ำให้เพียงแต่ท�ำให้มีกลุ่มคนจ�ำนวนหนึ่งได้รับการดูแลอย่างจริงจังโดยผู้ใช้
อำ� นาจ และเมอื่ เทยี บกบั คนทขี่ ดั แยง้ กบั ทศิ ทางนก้ี ไ็ ดร้ บั การดแู ลนอ้ ยลง และสญู เสยี หลายอยา่ งจากทนุ นยิ ม
เช่น ทรัพยากรธรรมชาติ ตามกติกาของทุนจะไปใช้ทรัพยากรธรรมชาติในทางอุตสาหกรรมได้เพราะรัฐ
คำ�้ ประกนั ศกั ยภาพให้ลงทนุ ผู้เกี่ยวขอ้ งทไี่ ด้รบั ผลสะเทอื นกอ็ าจไดร้ บั การดแู ลน้อยลง