Page 20 - ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
P. 20
๓-10 ภาษาไทยเพือ่ การสือ่ สาร
๑) ค�ำท่ีมีรูปและเสียงเหมือนกัน แต่ความหมายต่างกัน ในภาษาไทยมีค�ำจ�ำพวกหน่ึงที่แม้รูป
และเสยี งจะเหมือนกัน แตม่ คี วามหมายตา่ งกนั ค�ำจำ� พวกนเี้ รยี กว่า ค�ำพ้องท้ังรูปและเสียง ผใู้ ชภ้ าษาจะ
ต้องสังเกตความหมายของค�ำนั้นๆ ว่า เม่ือค�ำน้ันไปปรากฏในข้อความ หรือสถานการณ์ใด ค�ำนั้นจะมี
ความหมายว่าอย่างไร โดยดูจากบริบท (context) ของค�ำน้ันๆ หากผู้ใช้ไม่แน่ใจในความหมาย จะต้อง
ค้นคว้า อาจดูจากพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานก็ได้ เช่น ค�ำว่า “กับ” ในพจนานุกรมฉบับ
ราชบณั ฑติ ยสถาน พุทธศกั ราช ๒๕๔๒ (หนา้ ๑๐๖) ไดใ้ ห้ความหมายไว้ ๔ ความหมาย ดงั น้ี
กบั ๑ น. เครอื่ งดกั สตั วช์ นดิ หนง่ึ มลี น้ิ หรอื ไก่ เมอ่ื ไปกระทบเขา้ กจ็ ะเปดิ หรอื งบั ทนั ที โดยปรยิ าย
หมายถงึ อบุ ายทใี่ ชล้ อ่ ใหห้ ลงเชอ่ื กบั ระเบดิ น. วตั ถรุ ะเบดิ ทว่ี างไวเ้ มอ่ื ไปเหยยี บหรอื กระทบเขา้ กจ็ ะระเบดิ
ทันที
กับ ๒ เป็นคำ� ทเี่ ช่ือมคำ� หรือความเขา้ ด้วยกนั มคี วามหมายวา่ รวมกนั หรือเกีย่ วขอ้ งกนั เช่น ฟา้
กับดนิ กนิ กบั นอน หายวบั ไปกับตา
กบั ๓ ลกั ษณนามเรียกใบลานซง่ึ จดั เขา้ แบบส�ำหรับจารหนงั สอื ประมาณ ๘๐๐ ใบ
กับ ๔ กบั ข้าว น. อาหารซึ่งปกติใช้กินพรอ้ มขา้ ว
ตัวอย่าง
(๑) การใชก้ บั ดกั หนูจะดกี ว่าใช้กาวดกั หนู
(๒) พอ่ กับแม่ไม่อยบู่ า้ นคะ่
(๓) หนงั สอื ใบลานเรื่องพระเวสสันดรมีถึง ๑๐ กบั
(๔) แมจ่ ะท�ำไขเ่ จยี ว แต่พ่อบอกว่า มกี บั ข้าวหลายอยา่ งแล้วไม่ตอ้ งทำ� ไขเ่ จียวเพิม่ หรอก
จากตวั อยา่ งนจี้ ะเหน็ วา่ ประโยคที่ ๑ คำ� วา่ กบั หมายถงึ เครอื่ งมอื ดกั สตั ว์ ประโยคที่ ๒ คำ� วา่ กบั
เปน็ คำ� เชือ่ ม ประโยคท่ี ๓ คำ� วา่ กับ เปน็ ลักษณนาม และประโยคที่ ๔ คำ� วา่ กบั เป็นคำ� นาม หมายถงึ
กบั ขา้ ว คำ� ทร่ี ปู และเสยี งเหมอื นกนั แตค่ วามหมายตา่ งกนั นี้ ผสู้ อื่ สารตอ้ งสงั เกตทบ่ี รบิ ทวา่ คำ� นน้ั ๆ ทำ� หนา้ ที่
อะไรและมีความหมายอย่างไร เช่น
กบั ขา้ ววันนอ้ี ร่อยมาก
ฉนั รับประทานไข่เจียวกับข้าวร้อนๆ สกั จานกพ็ อแล้ว
ประโยคแรก คำ� วา่ กับข้าว เปน็ ๑ ค�ำ หมายถึง อาหารคาวที่รับประทานพร้อมขา้ ว ส่วน ค�ำว่า
กับข้าว ในประโยคท่ี ๒ เปน็ ๒ คำ� คอื คำ� ว่า กบั ซึง่ เป็นคำ� บุพบท และ ค�ำวา่ ข้าว ซ่ึงเปน็ คำ� นาม แยก
เป็น ๒ คำ�
๒) ค�ำที่มีเสียงเหมือนกันแต่รูปต่างกัน คำ� ในภาษาไทยทมี่ เี สยี งเหมอื นกนั แตร่ ปู ตา่ งกนั มจี ำ� นวน
มาก ตามหลักภาษาเรียกว่า ค�ำพ้องเสียง ค�ำเหล่านี้ผู้สื่อสารจะต้องระมัดระวังในการเขียน ถ้าเขียนผิด
ความหมายจะผดิ ไป เชน่ ค�ำท่ีออกเสยี ง กาน มีค�ำท่ีเขยี นตา่ งๆ กันดังนี้
(๑) กาน ตัดเพ่ือให้แตกใหม่ เช่น กานต้นมะขาม กานตน้ สน
(๒) กานต ์ เปน็ ท่ีรัก
(๓) กานท ์ บทกลอน
(๔) การ งาน ส่ิงหรอื เรือ่ งท่ที ำ� ผู้ท�ำ