Page 39 - ภาษาอังกฤษสำหรับครูสอนภาษา
P. 39

การศกึ ษาเร่อื งความหมาย 8-29
      The boys caught a tove in the lake yesterday.
      คำ� ว่า tove เปน็ คำ� สมมติ จะเหน็ ว่าในประโยคน้ี tove ตามหลงั article คอื a ดงั นนั้ tove
จงึ น่าจะเปน็ ค�ำนาม และทำ� หนา้ ท่เี ป็นกรรมของกรยิ า caught และ tove จะเปน็ อะไรก็ตาม แต่เป็น
สง่ิ ที่ถูกพวกเด็กผชู้ ายจบั ได้ และสถานทที่ ่ี tove ถกู จบั คอื ในทะเลสาบ (in the lake) ในที่น้ีจึงน่า
จะเข้าใจได้ว่า tove คงเป็นสัตว์น้ําชนิดหน่ึงท่ีไม่น่าจะมีพิษสงอะไร และส่ิงที่น่าจะเป็นไปได้ที่สุดก็
ควรจะเป็นปลาชนดิ หน่งึ
      (3) 	The snake was gyring in the grass.
      (4) 	The baby gyred and laughed when she tickled it.
      ในประโยค (3) gyring ตามหลงั กรยิ า BE (was) และลงทา้ ยด้วย ing จงึ นา่ จะเป็นกริยา
รปู past continuous tense แสดงวา่ งู “กำ� ลังกระทำ� กิริยาชนดิ หน่ึง” อยู่บนหญา้
      ในประโยค (4) gyred ลงทา้ ยดว้ ย ed เชน่ เดียวกบั laughed ซึ่งเปน็ กริยา past simple
tense คำ� ทง้ั สองมี and เชื่อม gyred จงึ ควรจะเป็นกรยิ า past simple tense ด้วย มีใจความวา่
เด็กทารก “ทำ� กริ ิยาชนดิ หนง่ึ ” และหัวเราะเม่ือถกู จก๊ั จี้
      เมื่อดตู ามรูปศพั ท์ gyring และ gyred ควรจะมาจากกริยาเดียวกัน คือ to gyre ซ่งึ ในที่นี้
กเ็ ปน็ เพยี งคำ� ทสี่ มมตขิ นึ้ เปน็ ตวั อยา่ ง แตน่ กั ศกึ ษากอ็ าจลองหาความหมายของคำ� กรยิ าคำ� นไ้ี ด้ โดย
ลองนึกดูว่างูมักจะท�ำกิริยาเช่นใด และเด็กเล็กๆ ที่ถูกจั๊กจี้มักจะหัวเราะคิกคักและท�ำกิริยาเช่นใด
ซึง่ ตามความเป็นจริงก็นา่ จะเปน็ การบดิ ตวั ไปมานน่ั เอง
      (5) 	The sunlight gimbled on the snow.
      (6) 	Her diamond gimbled under the lamp.
      จากประโยคทง้ั สองจะเห็นว่า gimbled ทำ� หน้าทเ่ี ปน็ กรยิ า และเปน็ past simple tense
ในประโยค (5) พอจะบอกไดว้ า่ แสงอาทติ ย์ “ท�ำกิริยาชนดิ หน่ึง” บนหิมะ สว่ นในประโยค (6) พอ
จบั ความไดว้ า่ เพชรของหลอ่ น “ทำ� กริ ยิ าชนดิ หนง่ึ ” ใตแ้ สงจากโคมไฟ ถา้ จะลองหาความหมายของ
ค�ำว่า gimbled ซ่ึงเป็นค�ำสมมติ ก็น่าจะดูได้จากค�ำอื่นในประโยค นักศึกษาอาจถามตนเองว่า
แสงแดดหรือแสงอาทติ ย์เมื่อกระทบกับหิมะซ่ึงเปน็ สีขาวนา่ จะเป็นเช่นไร และเพชรซึ่งมีประกายอยู่
ในตวั เมอ่ื ได้รับแสงส่องกระทบจะเปน็ เช่นไร กน็ ่าจะพอสรุปได้ว่า “สอ่ งแสง” หรือ “เปน็ ประกาย”
น่ันเอง
      การทดลองหาความหมายจากค�ำสมมติเช่นนี้ ถ้าเห็นตัวอย่างอยู่ในประโยคเดียวอาจเป็น
การยากที่จะเดา แต่ถ้ามีตัวอย่างสักสองหรือสามตัวอย่างขึ้นไป ผู้อ่านจะสามารถมองเห็นว่าค�ำ
คำ� นน้ั เมอื่ ทำ� หนา้ ทเ่ี ชน่ นนั้ มกั จะอยใู่ นสง่ิ แวดลอ้ มหรอื ใชใ้ นสถานการณค์ ลา้ ยๆ กนั จงึ นา่ จะพอเดา
ความหมายได้ และวธิ กี ารเชน่ นจี้ ะนำ� ไปใชป้ ระโยชนไ์ ดใ้ นการอา่ น เมอื่ นกั ศกึ ษาพบศพั ทใ์ หม่ ถา้ จะ
ลองหา class-meaning และลองใชก้ ารสงั เกตวา่ คำ� คำ� นน้ั มกั จะใชใ้ นสถานการณเ์ ชน่ ใด กอ็ าจเขา้ ใจ
ความหมายได้โดยไมต่ อ้ งเปดิ พจนานกุ รมเสมอไป
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44