Page 47 - ความรู้และทักษะการสื่อสารชุมชน
P. 47
ความรูแ้ ละทกั ษะส่อื มวลชนสัมพนั ธ์ในระดับชุมชน 14-37
ข้อควรค�ำนึงในการเขียนข่าวแจกเพ่ือเผยแพร่ในวิทยุ
การเขียนขา่ ววิทยุ มีขอ้ ควรพิจารณาดังน้ี
1. เขียนให้ข้อเท็จจริงท่ีถกู ต้อง ซงึ่ ส่งผลต่อความน่าเช่อื ถอื ของผฟู้ ัง
2. เขียนแบบพูดหรือเล่าสู่กันฟังเพื่อให้ผู้ฟังเข้าใจ โดยส่ือความหมายให้ชัดเจน กระชับ
เขา้ ใจงา่ ย
3. ใช้ค�ำเชื่อมโยงเพื่อบอกล�ำดับแก่ผู้ฟัง เช่น “ต่อไปเป็นข่าว...” หรือ “ต่อไปเป็น
รายละเอยี ดของขา่ ว...” เปน็ ตน้
4. การอา้ งคำ� พูดแหลง่ ข่าวควรใช้เป็นการอา้ งถงึ โดยอ้อม โดยอา้ งถึงการพดู ของแหล่งขา่ ว
กอ่ นจะถา่ ยทอดเปน็ เสียงของผ้ปู ระกาศข่าว หรืออาจใช้เสยี งจริงจากการใหส้ ัมภาษณ์ของแหลง่ ขา่ วได้
5. ใช้ภาษาท่ีเข้าใจง่าย เป็นการเขียนเพ่ือฟังมากกว่าการเขียนเพื่ออ่าน ใช้ค�ำง่ายๆ
ประโยคสั้นๆ ในการเขียนควรมีการย่อหน้าเพื่อให้ผู้อ่านข่าวสามารถจับประเด็นได้ และจะเป็นประโยชน์
หากตอ้ งมกี ารตดั ข่าวกรณีเกนิ เวลา
6. ไม่ควรใชค้ �ำที่ฟงั แล้วคลุมเครือ เช่น คำ� ศัพท์เฉพาะ คำ� สแลง หรอื คำ� ทเ่ี ปน็ นามธรรม
7. หลีกเล่ียงค�ำซํ้าหรือค�ำที่มีเสียงคล้ายกันเพราะผู้ฟังอาจฟังคลาดเคลื่อนได้ ส�ำหรับ
ข้อความหรือค�ำทอ่ี า่ นยากหรอื คำ� เฉพาะ ควรวงเล็บค�ำอา่ นกำ� กบั ไว้เพื่อความถกู ต้องในการออกเสียง
8. เล่าเร่ืองให้กระชับ ตรงไปตรงมา ไม่เขียนวกไปวนมาหรือเขียนอ้อมค้อม โดยมุ่งท่ีจะ
น�ำเสนอข้อเทจ็ จรงิ ท่ีสำ� คัญ โดยตดั รายละเอยี ดทีไ่ ม่จำ� เป็นออก เหลือแต่เฉพาะแก่นของเร่อื งทจี่ ะน�ำเสนอ
ดังนั้นการเขียนข่าวที่กระชับและตรงประเด็นจะท�ำให้ผู้ฟังสามารถจับความได้ อีกท้ังเวลาในการน�ำเสนอ
ทมี่ จี �ำกดั จึงตอ้ งเขียนให้สั้นกะทดั รดั
9. เขยี นให้มสี สี ัน เป็นการเขยี นดว้ ยลีลาและส�ำนวนทช่ี วนฟงั ดูมีชีวิตชีวา ทำ� ใหผ้ ู้ฟังเกดิ
ภาพพจนแ์ ละสามารถจนิ ตนาการได้ เชน่ การเลอื กใชค้ ำ� การเขยี นทดี่ มู กี ารเคลอื่ นไหว มกี ารเปรยี บเทยี บ
10. เขียนให้เป็นกลาง คือ การเขียนตามความเป็นจริง ไม่เขียนในลักษณะแสดงความคิด
เห็นเกยี่ วกับเร่อื งราวของขา่ วนัน้ ๆ หากต้องการแสดงความคิดเหน็ ตอ้ งแยกให้เหน็ อย่างชัดเจน
11. ไม่มคี วามล�ำเอยี งหรอื อคติ คอื ให้ความเทา่ เทียมกนั ในการนำ� เสนอของแหลง่ ขา่ วจาก
ทกุ ฝา่ ย เชน่ กรณีเปน็ ข่าวท่ีมคี วามขดั แยง้ ต้องน�ำเสนอทัง้ ฝ่ายท่เี หน็ ด้วยและไม่เห็นด้วย
12. ใช้ความมเี หตุผลไมใ่ ช้อารมณ์ คือไม่เขียนในลกั ษณะเรา้ อารมณห์ รือเกนิ ความเปน็ จรงิ
หรอื เขียนแล้วท�ำใหผ้ ฟู้ งั เขา้ ใจผิดหรอื เอาขา่ วลอื มาเขยี น
13. ควรค�ำนึงถึงหลกั ความชัดเจน ความเป็นเอกภาพ และมจี ุดเน้นหรอื ประเด็นสำ� คัญ
14. การใช้ตัวเลข มักจะเขียนส�ำหรับเลขหน่วยเดียวหรือหลักสิบ แต่ถ้าเป็นหลายหลักมัก
เขยี นเป็นตวั เลขประมาณการทีใ่ กล้เคยี งมากกวา่ จะระบตุ วั เลขจริง
15. ไม่ควรใช้ค�ำยอ่ ควรตอ้ งเขยี นคำ� เตม็