Page 16 - สังคมมนุษย์
P. 16
13-6 สังคมมนษุ ย์
ในส่วนของนักวิชาการต่างประเทศ หากย้อนกลับไปในอดีต ในปี ค.ศ. 1949 นักวิชาการชาว
อเมริกัน ชื่อ คิงส์ลีย์ เดวิส (Kingsley Davis) ซ่ึงถือว่าเป็นนักวิชาการทางด้านสังคมวิทยาและด้าน
ประชากรศาสตร์ ได้ให้ค�ำอธิบาย การเปล่ียนแปลงทางสังคม และการเปล่ียนแปลงทางวัฒนธรรมไว้ว่า
(Kingsley Davis, 1949, น. 622 อา้ งใน โกวทิ ย์ พวงงาม, 2553, น. 64) การเปลี่ยนแปลงทางสังคมนั้น
เปน็ การเปลย่ี นแปลงในโครงสรา้ งและหนา้ ทขี่ องสงั คม ดงั นนั้ การเปลยี่ นแปลงทางสงั คมเปน็ เพยี งสว่ นหนง่ึ
ของการเปล่ยี นแปลงทางวฒั นธรรม
ส่วนการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม หมายถึง การเปล่ียนแปลงทุกอย่างท่ีเกิดขึ้นในวัฒนธรรม
ทกุ สาขา เชน่ ศลิ ปะ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ปรชั ญา ฯลฯ เช่นเดยี วกบั การเปลยี่ นแปลงในรูปแบบและ
กฎเกณฑ์ของการจัดระเบยี บทางสงั คม
ตอ่ มาในปี ค.ศ. 1955 เฮนร่ี พลทั แฟรซ์ าย (Henry Pratt Fairchild) ไดใ้ หค้ วามหมายของการ
เปลย่ี นแปลงทางสงั คมวา่ “เปน็ ลกั ษณะหนงึ่ ของกระบวนการ แบบแผนหรอื รปู แบบสงั คม ซง่ึ มกี ารผนั แปร
หรอื มกี ารเปลย่ี นแปลง เปน็ แนวความคดิ รวมหมายถงึ ผลของการเปลย่ี นแปลงทกุ ๆ อยา่ งของกระบวนการ
ทางสงั คม ซงึ่ การเปลย่ี นแปลงทางสงั คมอาจกา้ วหนา้ หรอื ลา้ หลงั กไ็ ด้ เปน็ การเปลย่ี นแปลงอยา่ งถาวรหรอื
ช่ัวคราว โดยการวางแผนหรือไม่มีการวางแผน เปล่ียนแปลงไปในทิศทางเดียวหรือหลายทิศทางอาจก่อ
ใหเ้ กดิ ประโยชนห์ รอื โทษกไ็ ด”้ สว่ นการเปลยี่ นแปลงทางวฒั นธรรม หมายถงี การเปลยี่ นแปลงวธิ กี ารดำ� รง
ชีวิตของมนุษย์ทุกด้าน (Henry Pratt Fairchild, 1955, น. 227 อ้างในโกวิทย์ พวงงาม, 2553, น. 64)
ส่วนนกั วชิ าการไทย เช่น สัญญา สัญญาววิ ัฒน์ (2549, น. 5-6) ไดอ้ ธบิ ายวา่ การเปล่ยี นแปลง
ทางสงั คม หมายถงึ การเปลย่ี นแปลงองคก์ ารทางสงั คม (Social Organization) ไดแ้ ก่ การเปลยี่ นแปลง
ในเรอื่ ง
1. ขนาดองค์การสังคม (Size) คอื ใหญข่ ึน้ หรอื เล็กลง
2. ประเภทขององค์การสังคม (Kind) เช่น จากกลุ่มเพื่อนไปเปน็ ครอบครัวจากครอบครัวเปน็
ชุมชน เป็นตน้
3. ลกั ษณะขององคก์ ารสงั คม (characteristics) เชน่ จากยดึ เหนยี่ วกนั หลวมๆ เปน็ ยดึ เหนยี่ วกนั
เหนียวแนน่ จากแบง่ แยกมาเปน็ สมัครสมานสามัคคี
4. สถานภาพและบทบาท (status-role) เช่น เคยสถานภาพสูงมาเป็นต�่ำจากเคยต่�ำมาเป็นสูง
จากเคยเป็นเพื่อนกนั มาเป็นสามีภรรยากนั บทบาทกพ็ ลอยเปล่ยี นไปดว้ ย
สว่ นการเปลยี่ นแปลงทางวฒั นธรรม หมายถงึ การเปลย่ี นแปลงในดา้ นวฒั นธรรม ซง่ึ อาจแบง่ เปน็
3 รปู แบบ คือ
1. ความคิด (idea) ไดแ้ ก่ ความเชื่อ ความรู้ คา่ นยิ ม อุดมการณ์
2. การกระท�ำ (behavior) ได้แก่ บรรทัดฐานทางสังคม ซ่ึงอาจแบ่งย่อยออกเป็น วิถีประชา
(folkways) จารตี ประเพณี (Mores) และกฎหมาย (Laws)
3. วัตถุ (material) ได้แก่ ส่วนท่ีเป็นวัตถุของวัฒนธรรม เช่น บ้านเรือน เครื่องใช้ เครื่องมือ
เครื่องประดับ