Page 21 - สังคมมนุษย์
P. 21
การเปลย่ี นแปลงทางสงั คมและวฒั นธรรมกับปญั หาสังคม 13-11
รวมทง้ั แนวคดิ ของอลั วนิ ทอฟเลอร์ (1981) ซงึ่ เขาไดก้ ลา่ วถงึ แนวโนม้ การเปลย่ี นแปลงของสงั คม
โลกไวใ้ นหนงั สอื ชอื่ คลื่นลกู ท่สี าม (The Third Wave) ซง่ึ ชี้ใหเ้ ห็นวา่ สงั คมโลกเปลย่ี นแปลงเป็น 3 ยุค
ซงึ่ เรมิ่ จากสงั คมทเี่ รยี บงา่ ยไปสสู่ งั คมทมี่ คี วามสลบั ซบั ซอ้ น คอื เปลยี่ นจากคลนื่ ลกู ที่ 1 คอื สงั คมการเกษตร
มาส่คู ล่ืนลูกที่ 2 คอื สังคมอตุ สาหกรรม และคล่ืนลูกที่ 3 คือ สังคมข้อมูลขา่ วสาร
นอกจากนกี้ ย็ งั มแี นวความคดิ ของนกั วชิ าการอกี หลายทา่ นทแี่ สดงใหเ้ หน็ วา่ สงั คมและวฒั นธรรม
มกี ารเปลยี่ นแปลงจากงา่ ยๆ ไปสคู่ วามสลบั ซับซ้อน เช่น (http://en.wikipedia.org/wiki/)
Ferdinand Toennies (1855-1936) ที่เสนอว่าสังคมมีแนวโน้มเปล่ียนจากสังคมแบบชุมชน ที่
เรียกว่า “Gemeinschaft” ไปเปน็ สมาคมหรอื องค์การทางสงั คมแบบทตุ ยิ ภูมิ “Gesellschaft”
Charles Cooley (1864-1929) ทเี่ สนอว่าสงั คมมแี นวโน้มจะเปลยี่ นจากกล่มุ ปฐมภูมิ (primary
group) ไปเป็นกลมุ่ ทุตยิ ภมู ิ (secondary group)
Robert Redfield (1897-1958) ทเ่ี สนอวา่ สงั คมจะเปลยี่ นสงั คมชนบท (the rural) ไปเปน็ สงั คม
เมือง (the urban)
Émile Durkheim (1858-1917) ทเ่ี สนอวา่ สังคมจะเปล่ยี นจากสังคมบรู ณาการแบบจกั รกลนยิ ม
(mechanic solidarity) ไปเปน็ บูรณาการแบบอินทรยี น์ ิยม (organic solidarity)
Fred. W. Riggs (1917-2008) ทเ่ี สนอวา่ สังคมจะเปลีย่ นจากสงั คมกสิกรรม (agrarian) ไปเป็น
สังคมอุตสาหกรรม (industrial)
Max Weber (1864-1920) ท่ีเสนอวา่ สังคมจะเปลี่ยนจากสงั คมแบบจารตี ประเพณี (traditional
society) ไปเป็นสังคมแบบทนั สมัย (modern society)
กลา่ วโดยสรปุ ทฤษฎวี วิ ฒั นาการเปน็ ทฤษฎที อ่ี ธบิ ายการเปลยี่ นแปลงทางสงั คมและวฒั นธรรมโดย
มองวา่ การเปลยี่ นแปลงนนั้ มวี วิ ฒั นาการเรมิ่ จากสง่ิ ทเ่ี รยี บงา่ ยสสู่ ง่ิ ทมี่ คี วามสลบั ซบั ซอ้ น โดยเฉพาะสงั คม
ในปจั จบุ นั นน้ั จะพบวา่ มคี วามสลบั ซบั ซอ้ นทง้ั ในเชงิ โครงสรา้ งสงั คม ความสมั พนั ธข์ องคนในสงั คม สภาพ
การเมอื ง เศรษฐกจิ และเทคโนโลยที กี่ า้ วหนา้ อกี ทงั้ สงั คมในอนาคตกจ็ ะยงิ่ มคี วามเจรญิ กา้ วหนา้ และสลบั
ซับซ้อนมากขึ้น
2. ทฤษฎีแห่งการสมดุล (Equilibrium Theory) หลักการหรือหัวใจส�ำคัญของทฤษฎีน้ี ก็คือ
เปน็ การอธบิ ายวา่ การเปลยี่ นแปลงเกดิ จากการเสยี สมดลุ กลา่ วคอื สว่ นตา่ งๆ เมอ่ื รวมเขา้ เปน็ ระบบ และ
ส่วนต่างๆ เหล่านี้จะมีความสัมพันธ์กัน ถ้าเกิดการเปล่ียนแปลงขึ้นท่ีส่วนใด ก็จะเป็นผลท�ำให้ส่วนอ่ืนๆ
ของระบบซงึ่ สมั พนั ธก์ นั เปลย่ี นแปลงไปดว้ ย ซง่ึ ทฤษฎนี ม้ี ลี กั ษณะเปน็ กลมุ่ ทฤษฎกี ว็ า่ ได้ เนอ่ื งจากมหี ลาย
ทฤษฎีทเี่ กยี่ วข้อง เช่น
2.1 ทฤษฎีความล้าทางวัฒนธรรม (Culture lag Theory) เจ้าของทฤษฎีน้ีคือวิลเล่ียม
เอฟ. ออกเบิร์น (William F. Ogburn, 1886-1959) ทฤษฎีนมี้ องว่า วฒั นธรรมนนั้ แบ่งเปน็ 2 ประเภท
คือ
- วัฒนธรรมทางวตั ถุ (Material Culture) ก็คอื สิง่ ทเ่ี ปน็ รูปธรรมต่างๆ ทสี่ ามารถ
จบั ต้องได้ อนั ไดแ้ ก่ วัตถสุ ่งิ ของตา่ งๆ ส่ิงประดิษฐต์ า่ งๆ