Page 23 - สังคมมนุษย์
P. 23

การเปลย่ี นแปลงทางสังคมและวฒั นธรรมกับปญั หาสงั คม 13-13
            สงั คมกเ็ ชน่ เดียวกบั สิ่งมีชวี ติ หรือรา่ งกายมนุษยท์ ี่ประกอบด้วยโครงสร้างตา่ งๆ ทท่ี ำ� หน้าที่
เพื่อให้สังคมโดยรวมด�ำรงอยู่ได้ ซึ่งโครงสร้างของสังคมก็คือ สถาบันสังคม ซึ่งมี 6 สถาบัน (ต�ำราทาง
สังคมศาสตร์หลายเล่มอาจจะแบ่งสถาบันทางสังคมแตกต่างจากน้ีก็ได้) ท�ำหน้าที่แตกต่างกันออกไป
(โคเซอร,์ ลวิ อสิ เอ., 2535, น. 6-26 อ้างในสุภางค์ จนั ทวานิช, 2553, น. 140-141) ไดแ้ ก่

                1) 	สถาบันครอบครวั 	ท�ำหน้าท่ผี ลิตและเล้ียงดูสมาชกิ ใหม่
                2) 	สถาบนั พิธกี รรม 	 ท�ำหนา้ ทีค่ วบคุมพฤตกิ รรมมนุษย์
                3) 	สถาบนั การเมอื ง 	 ทำ� หนา้ ทใ่ี นดา้ นการเมอื งการปกครองและรปู แบบการปกครอง
                4) 	สถาบันศาสนา 	 มหี ลกั คำ� สอนให้มนษุ ยย์ ึดถอื
                5) 	สถาบนั อาชีพ 	 ทำ� ใหเ้ กดิ การแบ่งงานเปน็ สว่ นๆ ในสังคม
                6) 	สถาบนั เศรษฐกิจ 	 มีการแบ่งระบบเป็นระบบทาสระบบศักดินา และแรงงานเสรี
เปน็ ต้น
            ดงั นนั้ หากสถาบนั ทางสงั คมซง่ึ ถอื เปน็ โครงสรา้ งของสงั คมไมท่ ำ� หนา้ ทขี่ องตนเองใหด้ กี จ็ ะ
ส่งผลต่อความมน่ั คงและด�ำรงอยขู่ องสังคม อาจจะทำ� ใหส้ ังคมลม่ สลายได้ เชน่ หากสถาบนั ครอบครัวไม่
ทำ� หนา้ ทผ่ี ลติ และเลย้ี งดสู มาชกิ ใหมใ่ หด้ กี จ็ ะเกดิ ปญั หาการกระทำ� ผดิ ของเดก็ และเยาชน รวมถงึ ปญั หาเดก็
เรร่ อ่ นซงึ่ จะสง่ ผลกระทบตอ่ สงั คมโดยรวม และหากนำ� ทฤษฎโี ครงสรา้ ง-หนา้ ที่ มาอธบิ ายการเปลยี่ นแปลง
สงั คม กจ็ ะอธบิ ายไดว้ า่ สงั คมนน้ั ประกอบดว้ ยระบบตา่ งๆ ทที่ ำ� หนา้ ทส่ี อดประสานกนั และมคี วามสมั พนั ธ์
หากสว่ นใดสว่ นหนงึ่ หรอื ระบบยอ่ ยใดในสงั คมเปลย่ี นแปลงไป กจ็ ะสง่ ผลกระทบโดยรวมตอ่ สงั คม ตวั อยา่ ง
เชน่ จะพบวา่ มกี ารยา้ ยถนิ่ ของคนในชนบทโดยเฉพาะหนมุ่ สาวเขา้ มาทำ� งานในเมอื ง โดยเฉพาะในกรงุ เทพ
กเ็ นอื่ งจากในชนบทไมม่ งี านใหท้ ำ� และสาเหตทุ ไ่ี มม่ งี านใหท้ ำ� นนั้ กม็ หี ลายสาเหตแุ ตส่ าเหตปุ ระการหนง่ึ ก็
คอื เรอ่ื งของการเปลย่ี นแปลงการถอื ครองทีด่ ินในชนบท ชาวบา้ นท่เี ป็นเจ้าของทดี่ ินทำ� กนิ ได้ขายทีด่ ินท�ำ
กนิ ใหแ้ กน่ ายทนุ เมอื่ ขายทด่ี นิ ทำ� กนิ ไปแลว้ กไ็ มม่ อี าชพี อนื่ รองรบั ทำ� ใหเ้ กดิ การยา้ ยถนิ่ อพยพเขา้ มาทำ� งาน
ในเมือง
       3.	 ทฤษฎีแห่งการขัดแย้ง (Conflict Theory) เมอ่ื กลา่ วถึงทฤษฎีความขัดแยง้ บคุ คลทจ่ี ะตอ้ ง
กล่าวถึงก็คอื คารล์ มารก์ ซ์ (Karl Marx, 1818-1883) ซงึ่ เขาไดเ้ ขียนหนงั สือชือ่ Communist Mani-
festo โดยเร่ิมประโยคแรกของหนังสือว่า “ประวัติศาสตร์ของสังคมมนุษย์ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันเป็น
ประวตั ศิ าสตรข์ องการตอ่ สรู้ ะหวา่ งชนชน้ั ทกุ สมยั ตอ้ งมกี ารตอ่ สรู้ ะหวา่ งชนชน้ั เพราะมผี กู้ ดขแี่ ละผถู้ กู กดข่ี
(สุภางค์ จันทวานิช, 2553, น. 70) ซึง่ คาร์ล มารก์ ซ์ ต้องการแสดงให้เห็นว่า ความขดั แย้งนน้ั จะตอ้ งเกดิ
ขนึ้ ในสงั คม และความขดั แยง้ ในความคิดของคารล์ มารก์ ซ์น้นั เป็นความขดั แย้งระหวา่ งชนช้นั
       ดงั นน้ั คงจะกลา่ วได้วา่ ทฤษฎนี เี้ กดิ ข้ึนบนพน้ื ฐานจากความไมส่ อดคลอ้ งต้องกนั และต้องการให้
มีการเปลย่ี นแปลงอยา่ งรนุ แรง ซ่ึงตรงกบั ความเช่ือของคารล์ มาร์กซ์ ที่เขาเชือ่ ว่า ความขัดแยง้ เปน็ ปัจจัย
ส�ำคัญของทุกสังคม ความขัดแย้งมีอยู่ในโครงสร้างของสังคม และเป็นส่ิงท่ีผลักดันท�ำให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงได้ ซง่ึ คาร์ล มารก์ ซ์ ยงั เนน้ อีกว่า “ถา้ ปราศจากการขัดแยง้ สังคมกจ็ ะไมม่ คี วามก้าวหน้า”
       ซึ่งหากน�ำทฤษฎีแห่งการขดั แยง้ มาอธิบายการเปล่ียนแปลงของสังคม กส็ ามารถทีจ่ ะอธิบายได้
หลายแงม่ มุ ทง้ั ในทางการเมอื ง สงั คม เศรษฐกจิ และวฒั นธรรม แตโ่ ดยภาพรวมแลว้ จะพบวา่ ปญั หาทเี่ กดิ
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28