Page 20 - สังคมมนุษย์
P. 20

13-10 สงั คมมนุษย์

เร่ืองที่ 13.1.2
ทฤษฎีเกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม

       ค�ำวา่ “ทฤษฎี” หมายถงึ คำ� อธบิ ายปรากฏการณท์ างสังคม เป็นการอธิบายโดยอาศัยกลมุ่ ของ
ขอ้ ความคลา้ ยกฎที่เชอื่ มโยงอยา่ งลดหลั่นกนั (วรรณา แผนมุนิน, 2543, น. 2) แต่ทฤษฎี แตกตา่ งจาก
ค�ำอธบิ ายในแง่ทว่ี ่า ทฤษฎนี น้ั เป็นขอ้ อธิบายหรอื คาดคะเนปรากฏการณใ์ ดปรากฏการณ์หนง่ึ อนั เปน็ ผล
มาจากการศึกษาค้นคว้าด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ซ่ึงสามารถพิสูจน์ให้เห็นจริงได้ (สนธยา พลศรี,
2545, น. 53)

       ดังน้ัน ค�ำว่า “ทฤษฎีการเปล่ียนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม” ในที่นี้จึงเป็นการอธิบายการ
เปลยี่ นแปลงทางสงั คมและวฒั นธรรม ทผี่ า่ นการศกึ ษาคน้ ควา้ ดว้ ยวธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตรจ์ นเปน็ ทเ่ี ชอื่ ถอื
ไดน้ น้ั เอง ซง่ึ ทฤษฎกี ารเปลย่ี นแปลงทางสงั คมและวฒั นธรรมนนั้ มอี ยหู่ ลายทฤษฎี ในทน่ี จี้ ะขอยกตวั อยา่ ง
บางทฤษฎี เช่น (โกวทิ ย์ พวงงาม, 2553, น. 67-74)

       1. 	ทฤษฎีววิ ัฒนาการ (Evolutionary Theory)
       2. 	ทฤษฎแี ห่งการสมดุล (Equilibrium Theory)
       3. 	ทฤษฎีแห่งการขดั แย้ง (Conflict Theory)
       4. 	ทฤษฎแี หง่ การข้ึนลงของสังคม (Rise and Fall Theory)
       1. 	ทฤษฎีวิวัฒนาการ (Evolutionary Theory) เปน็ ทฤษฎที ่มี ีที่มาจากทฤษฎที างวิทยาศาสตร์
ซึ่งก็คือ ทฤษฎีทางชีววิทยา ของชาร์ลส์ ดาร์วิน (Charles Darwin ค.ศ. 1809-1882) นักชีววิทยา
ชาวองั กฤษ ซึ่งในปี ค.ศ. 1859 ผลงานท่ีสร้างชือ่ เสยี งใหก้ บั เขาคอื หนงั สอื ชื่อ The Origin of Species
หรอื ก�ำเนดิ ของสรรพชีวติ
       ตอ่ มานกั สงั คมศาสตรไ์ ดน้ ำ� ทฤษฎวี วิ ฒั นาการ มาอธบิ ายการเปลย่ี นแปลงทางสงั คมและวฒั นธรรม
โดยมองวา่ สงั คมและวฒั นธรรมกม็ วี วิ ฒั นาการเชน่ เดยี วกนั โดยเรมิ่ ตน้ จากสภาพโบราณลา้ หลงั มโี ครงสรา้ ง
แบบงา่ ยๆ ไปสโู่ ครงสรา้ งทสี่ ลบั ซบั ซอ้ นมากขนึ้ และไมม่ กี ารสน้ิ สดุ เปน็ ววิ ฒั นาการอยา่ งชา้ ๆ แบบคอ่ ยเปน็
คอ่ ยไป ตามสภาพสงิ่ แวดล้อมทีเ่ ปลย่ี นแปลงไป
       ตัวอย่างของทฤษฎีน้ีก็คือ วิวัฒนาการของสังคมมนุษย์จากสังคมแบบดั้งเดิมเก็บของป่าล่าสัตว์
กลายมาเปน็ สงั คมเกษตรกรรม สงั คมอตุ สาหกรรม และสงั คมเทคโนโลยสี ารสนเทศ ทม่ี คี วามสลบั ซบั ซอ้ น
เชน่ ในปจั จุบัน หรอื ผลงานของบญุ ศักดิ์ แสงระวี (2548) เรื่อง “ววิ ัฒนาการของสังคม” ซ่ึงเขาได้อธบิ าย
ให้เหน็ ว่า สังคมมนุษย์นนั้ มวี ิวฒั นาการ โดยเร่มิ จากสังคมที่เรยี กวา่ “สงั คมบรรพกาล” ซ่งึ เป็นสงั คมท่ี
เรยี บงา่ ย โครงสรา้ งสงั คมไมม่ คี วามสลบั ซบั ซอ้ น โดยเฉพาะเปน็ สงั คมทไี่ มม่ กี ารแบง่ ชนชนั้ จนววิ ฒั นาการ
ไปสูส่ งั คมท่มี คี วามสลับซับซ้อนมากข้ึน เช่น สงั คมทาส สงั คมศกั ดินา สังคมลัทธิทุนนยิ ม และสงั คมลัทธิ
สงั คมนยิ ม
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25